Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิบูลศรี วาสนสมสิทธิ์-
dc.contributor.authorนิวัฒน์ สนศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-05T11:26:59Z-
dc.date.available2013-08-05T11:26:59Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745771449-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33909-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทัศนคติต่องานอาชีพระหว่างนักเรียนที่เข้าร่วมในโครงการส่งเสริมอาชีพนักชีพกับนักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียนโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี ตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนมัธยมศึกษาโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี จำนวน 400 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่เข้าร่วมในโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียน จำนวน 200 คน และที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียน จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทัศนคติต่องานอาชีพ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนทีเข้าร่วมโครงการและนักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียน โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี มีทัศนคติดีต่องานอาชีพ 2. การเปรียบเทียบทัศนคติต่องานอาชีพของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการและนักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียน โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี ปรากฏว่า ทัศนคติต่องานอาชีพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีทัศนคติต่องานอาชีพสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the attitudes towards occupation of the students participating and non-participating in occupation development program in Surasak Montri School. The samples were 400 Mathayom Suksa students divided into 2 groups; a group of 200 students participating in occupation development program and 200 students non-participating in such program. The research instrument was a set of occupation attitude scale constructed by the researcher. The obtained data were analyzed by means of percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test. The results of this study were as follows: 1. Both groups of the students; participating and non-participating in occupation development program had good attitudes towards occupation. 2. The comparison of attitudes towards occupation of participating group and non-participating group appeared to be significantly different at the level of .01, and the arithmetic mean of participating group was higher than that of non-participating group.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทัศนคติ
dc.subjectโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียนโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
dc.subjectอาชีพ
dc.subjectการส่งเสริมอาชีพ
dc.titleการเปรียบเทียบทัศนคติต่องานอาชีพระหว่างนักเรียนที่เข้าร่วม และไม่ได้เข้าร่วมในโครงการส่งเสริมอาชีพนักเรียน โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีen_US
dc.title.alternativeA comparison of attitudes towards occupation of students participating and non-participating in occupation development program, Surasak Montri schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nivat_so_front.pdf4.03 MBAdobe PDFView/Open
Nivat_so_ch1.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open
Nivat_so_ch2.pdf24.31 MBAdobe PDFView/Open
Nivat_so_ch3.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open
Nivat_so_ch4.pdf7.08 MBAdobe PDFView/Open
Nivat_so_ch5.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open
Nivat_so_back.pdf16.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.