Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูล-
dc.contributor.authorเสาวนีย์ แสนคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-08-07T10:54:48Z-
dc.date.available2013-08-07T10:54:48Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34213-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 (2) ศึกษาบทบาทของผู้บริหาร ครูและผู้ปกครองในการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 และ (3) ศึกษาผลของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมต่อทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน ประถมศึกษาปีที่ 5 การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการศึกษาเอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ ลงข้อสรุปแบบอุปนัย การวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน ประถมศึกษาปีที่ 5 มีการดำเนินการวิจัยแบบ P-A-O-R ซ้ำ 2 รอบโดยเป็นการปฏิบัติการร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้วิจัย ผู้บริหาร ครูและผู้ปกครองโดยแยกเป็น 3 วงจรคือ (1) ผู้วิจัย กับผู้บริหาร ครูและผู้ปกครอง (2) ผู้บริหาร กับครูและผู้ปกครอง และ (3) ครู กับครูและผู้ปกครอง 2. บทบาทของผู้บริหาร ครูและผู้ปกครองในการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 มี 3 บทบาทคือ (1) บทบาทการเป็นผู้ให้กำลังใจ (2) บทบาทการ เป็นผู้ใส่ใจกำกับ และ (3) บทบาทการเป็นผู้สนับสนุนส่งเสริม ซึ่งผู้บริหาร ครูและผู้ปกครองได้แสดงบทบาทการ เป็นผู้สนับสนุนส่งเสริมมากที่สุด รองลงมาคือบทบาทการเป็นผู้ให้กำลังใจ และบทบาทการเป็นผู้ใส่ใจกำกับ ตามลำดับ 3. หลังการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ นักเรียนประถม ศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่าก่อนการทำวิจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this participatory action research were: 1) to develop the process of participatory action research to develop critical thinking skills of fifth grade students, 2) to study the roles of the executive, the teachers, and the parents participating in this participatory action research to develop critical thinking skills of fifth grade students, and 3) to study the effects of participatory action research to develop critical thinking skills of fifth grade students. The research data was collected by means of documentary study, participatory and non-participatory observation, interview, and a focus group technique. The study employed the Piyaporn poomkhaw's critical thinking skill test. The research data was analyzed using document analysis, inductive conclusion, descriptive statistic, and one - way repeated ANOVA. The research findings were summarized as follows: 1) The process of the study consisted of the two-repeated PAOR phrase. Each phrase comprised 3 cycles which were jointly conducted by the researcher, the executive, the teachers, and the parents. The first cycle consisted of the researcher, the executive, the teachers, and the parents. The second cycle consisted of the executive, the teachers, and the parents. The third cycle consisted of the teachers, the teachers and the parents. 2) The roles of the executive, the teachers, and the parents, ranked in descending order, were as follows: supporters, mentors, and monitors. 3) The students obtained higher posttest scores than pretest scores significantly at .05 after receiving the PAOR treatment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.770-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดและการคิดen_US
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen_US
dc.subjectการสังเกตแบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นประถม -- การมีส่วนร่วมของบิดามารดาen_US
dc.subjectThought and thinkingen_US
dc.subjectCritical thinkingen_US
dc.subjectParticipant observationen_US
dc.subjectEducation, elementary -- Parent participationen_US
dc.titleการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeParticipatory action research for developing critical thinking of fifth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAuyporn.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.770-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saowanee_sa.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.