Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34373
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มุรธา วัฒนะชีวะกุล | - |
dc.contributor.advisor | สุประดิษฐ์ หุตะสิงห์ | - |
dc.contributor.author | บุศรา เกิดวิชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-08T10:03:34Z | - |
dc.date.available | 2013-08-08T10:03:34Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745794198 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34373 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en_US |
dc.description.abstract | การพิจารณาคดีในระบบกล่าวหานั้น การพิจารณาจะดำเนินไปเสมือนหนึ่ง การแข่งขันระหว่างโจทก์และจำเลย ฝ่ายโจทก์จะรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ข้อกล่าวหา ให้ปรากฏแน่ชัดโดยปราศจากข้อสงสัยว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิดจริง และจำเลยก็จะกระทำอย่างดีที่สุดเพื่อให้ต้นพ้นมลทิน ส่วนรัฐมีหน้าที่วางตนเป็นกลาง และคอยควบคุมการดำเนินกระบวนพิจารณาให้เป็นไปโดยเที่ยงธรรม การพิจารณาคดีโดยรวดเร็ว เป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งของหลักนิติธรรมที่มุ่งคุ้มครองจำเลยผู้อยู่ในฐานะเสียเปรียบในการดำเนินคดีตามระบบกล่าวหา นานาประเทศยอมรับว่าเป็นสิทธิสำคัญที่จำเลยพึงได้รับในระหว่างการพิจารณาคดี การพิจารณาคดีโดยรวดเร็วมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ป้องกันการใช้อำนาจเกินขอบเขตของเจ้าหน้าที่ (2) ป้องกันมิให้เลยถกจองจำนานเกินกว่าเหตุและ (3) เพื่อคุ้มครองสิทธิของจำเลยให้ได้รับการพิจารณาในเวลาอันสมควร อย่างไรก็ดีการดำเนินกระบวนการจะเป็นไปตามหลักการพิจารณาคดีโดยรวดเร็วหรือไม่ มิได้มุ่งเฉพาะระยะเวลาอันสั้นในการดำเนินกระบวนการพิจารณาเท่านั้น ทั้งนี้เพราะจำเลยได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จึงอยู่ในสถานะที่ต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพอย่างสมบูรณ์ แม้ว่าการคุ้มครองสิทธิของจำเลยดังกล่าว จะเป็นอุปสรรคที่ทำให้เกิดความล่าช้าในการพิจารณาคดีก็ตาม ถือว่าเป็นความจำเป็นที่ต้องยอมรับและเพื่อให้คู่ความในคดีได้รับการพิจารณาในศาลยุติธรรมโดยเท่าเทียมกัน โจทก์หรือผู้เสียหายซึ่งเป็นบุคคลที่พึงได้รับการเยียวยาจากรัฐ จะต้องมีสิทธิและความสามารถในการต่อสู้คดีอย่างเต็มที่ด้วย วิทยานิพนธ์นี้จึงมุ่งศึกษาเปรียบเทียบถึงระบบการพิจารณาคดีโดยรวดเร็วของต่างประเทศและประเทศไทย เพื่อสรุปหาแนวทางและความเป็นไปได้ในการทำให้ระบบการดำเนินคดีอาญาโดยรวดเร็วของไทยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | |
dc.description.abstractalternative | The Thai system of criminal justice is based on an adversarial model which assumes that the best way to get the facts is to have a contest between the state and the prosecuting attorney representing the side of society and the victim versus the defense lawyer and the accused. The prosecution is required to prove its case beyond a reasonable doubt and the accused are presumed innocent until proven guilty. Because the battle would not be evenly match in a criminal trial if all the powers of the government were thrown against the individual charged with a crime, procedural safeguards have been clearly stated in the criminal procedure law of Thailand. Among others, the right to a speedy trial is at the heart of the due process rights guaranteed by the law. Universally, this right has been thought essential to protect at least three basic demands of criminal justice in Thailand: (1) to prevent undue and oppressive incarceration proior to trial; (2) to minimize anxiety and concern accompanying public accusation; and (3) to limit the possibilities that long delay well impair the ability of an accused to defend himself. However, it is not defined in terms of the calendar and is not meant to permit prosecutors to rush an accused to hasty injustice. With regard to the above importance, this investigation was expected to provide an understanding of practices and problems relating to the issue of speedy trial. In addition, this study was comparative in nature, that is, including through examinations of the experiences in major western countries. Finally, deriving from the research findings within the limitations of this investigation were theoretical and policy recommendations for concerned scholars as well as the criminal justice administrators. Implications of this study may be used to reduce and reform or effectively deal with the problems encountered our criminal proceedings. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สิทธิจำเลย -- การพิจารณาและตัดสิน | |
dc.title | สิทธิของจำเลยที่จะได้รับการพิจารณาคดีโดยรวดเร็ว | en_US |
dc.title.alternative | Right of the accused to a speedy trial | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Budsara_gi_front.pdf | 3.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_ch1.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_ch2.pdf | 12.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_ch3.pdf | 35.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_ch4.pdf | 25.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_ch5.pdf | 8.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_ch6.pdf | 4.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Budsara_gi_back.pdf | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.