Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประศักดิ์ หอมสนิท
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง
dc.contributor.authorอรุณี อารีรักษ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-08-10T11:14:19Z
dc.date.available2013-08-10T11:14:19Z
dc.date.issued2537
dc.identifier.isbn9745839981
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34587
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาในโฆษณาทางโทรทัศน์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ในด้านลักษณะการนำเสนอเนื้อหา ลักษณะเนื้อหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาและคุณภาพของสิ่งแวดล้อม วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และจุดมุ่งหมายทางการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ โฆษณาทางโทรทัศน์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ที่ออกอากาศระหว่างปี พ.ศ. 2534-2536 จำนวน 85 เครื่องผลการวิจัยพบว่า 1. หน่วยงานที่ผลิตโฆษณาทางโทรทัศน์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติมากที่สุดคือองค์กรธุรกิจ การนำเสนอเนื้อหาใช้สิ่งแวดล้อมเป็นตัวนำเสนอ เนื้อหาสิ่งแวดล้อมที่นำเสนอมากที่สุดคือ ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ และความเสื่อมโทรมและความร่อยหรอของสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและคุณภาพของสิ่งแวดล้อมที่นำเสนอมากที่สุดคือ ป่าไม้ และอากาศ วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ปรากฏในโฆษณา คือ การป้องกัน จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่ปรากฏในโฆษณา คือจุดมุ่งหมายด้านพุทธิพิสัย และจิตพิสัย2. ระดับการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยที่นำเสนอมีปรากฏทั้ง 6 ชั้น คือ ชั้นความรู้ ชั้นความเข้าใจ ชั้นการนำไปใช้ ชั้นการวิเคราะห์ และชั้นการประเมิน โดยปรากฏชั้นความรู้และชั้นความเข้าใจมากที่สุด 3. ระดับการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยที่นำเสนอมีปรากฏทั้ง 5 ชั้น คือ ชั้นการรับ ชั้นการตอบสนอง ชั้นการสร้างค่านิยม ชั้นการจัดระบบค่านิยม และชั้นการกำหนดลักษณะตามค่านิยมโดยปรากฏขั้นการรับมากที่สุด
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study was to analyze the content of television advertisements concerning natural environmental conservation. The content was analyzed in five categories : content presentation, environmental resources content, problem and quality of environmental resources, approach to conserve environmental resources, and educational objectives. The population employed in the study were 85 television advertisements concerning natural environmental conservation broadcasted during 1991-1993.Findings showed that: 1. Most of the advertisements were produced by private sectors. Soft-advertising technique was most utilized in presenting the content. Environmental issues most frequently presented were pollution and the depletion of environmental and natural resources. Problem and quality of environmental resources concerning forest and air were most frequently presented. Prevention was a proposed approach to conserve the environment. Educational objectives found in the content of the advertisements were cognitive and affective domains. 2. All six levels of the cognitive domain were found in the advertisements. There were : knowledge, comprehension, application analysis, synthesis, and evaluation. The first two levels were most frequently presented. 3. All five levels of the affective domain were found. There were receiving, responding, valuing, organization and characterization. Receiving was most frequently presented.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหาในโฆษณาทางโทรทัศน์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทางธรรมชาติen_US
dc.title.alternativeA content analysis in television advertising concerning natural environmental conservationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arunee_ar_front.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_ar_ch1.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_ar_ch2.pdf28.04 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_ar_ch3.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_ar_ch4.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_ar_ch5.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open
Arunee_ar_back.pdf8.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.