Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม-
dc.contributor.authorสิปปภาส ตรังคสันต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-08-10T11:14:59Z-
dc.date.available2013-08-10T11:14:59Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34588-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “ปัจจัยความสำเร็จของภาพยนตร์ที่ทำรายได้สูงสุดของบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2542 - 2552” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีดำเนินกลยุทธ์การบริหารของแต่ละบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ และค้นหาปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้ภาพยนตร์ 5 เรื่องกลายเป็นภาพยนตร์ที่ทำรายได้สูงสุดของแต่ละบริษัทผู้สร้าง งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ทฤษฏีเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจและแนวคิดเกี่ยวกับการตลาดภาพยนตร์เป็นกรอบในการศึกษาและทำการวิเคราะห์ ผลจากการศึกษาพบว่าบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทยทั้ง 5 รายนั้นมีกลยุทธ์ในการผลิตภาพยนตร์ตามแนวทางเฉพาะตัวและแตกต่างกันไปตามเป้าหมายที่แต่ละบริษัทผู้สร้างวางเอาไว้ โดยมีปัจจัยที่ส่งผลให้ภาพยนตร์ทั้ง 5 เรื่องประสบความสำเร็จทางด้านรายได้คือ 1.) ปัจจัยแวดล้อมในขณะที่ภาพยนตร์กำลังจะฉายเช่นประเทศไทยประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจยุคฟองสบู่แตก รัฐบาลใช้คำขวัญเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้คนไทยเกิดความรู้สึกร่วมกันคือความต้องการกลับไปใช้ชีวิตที่เรียบง่าย และการระลึกถึงอดีตที่น่าประทับใจ เป็นต้น 2.) การสร้างกระแสความนิยมในประเด็นต่างๆ เช่น ประเด็นความรักชาติและความมีชื่อเสียงของควายบุญเลิศ ในภาพยนตร์เรื่องบางระจัน (พ.ศ. 2543) การรวมตัวของนักแสดงตลกชั้นนำ 4 คนและตัวอย่างมุขตลกในภาพยนตร์ตัวอย่าง ในภาพยนตร์เรื่องมือปืน / โลก / พระ / จัน (พ.ศ. 2544) ประเด็นการเกิดปรากฏการณ์ที่นำมาซึ่งการระลึกอดีตที่น่าประทับใจ ในภาพยนตร์เรื่องแฟนฉัน (พ.ศ. 2546) ประเด็นการรับบทพระสงฆ์ของนักแสดงตลกเท่ง เถิดเทิง ในภาพยนตร์เรื่องหลวงพี่เท่ง (พ.ศ. 2548) และประเด็นความโด่งดังของนายพนม ยีรัมย์ ในภาพยนตร์เรื่องต้มยำกุ้ง (พ.ศ. 2548) นอกจากนี้ยังรวมถึงการทำการตลาดโดยผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ โดยมีปัจจัยภายในคือ การสร้างภาพยนตร์แนวแอ็กชันและแนวตลกที่คนไทยชื่นชอบ ปัจจัยภายนอกคือการทำการตลาดโดยใช้สื่อภาพยนตร์ตัวอย่างที่สามารถกระตุ้นให้ผู้ชมอยากดูภาพยนตร์มากที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the administrative strategies of 5 Thai film production companies and to search for the key success factors of 5 top grossing films of these companies. This is a qualitative research, using the theories of persuasive communication and marketing concepts as conceptual framework for this study and analysis.The findings of this research are as follows. All 5 production companies have their own strategies in film production which vary according to their goals. The factors affecting the financial success of all 5 top grossing films are 1) the factors at the time of film release. For example, Thailand encountered a major economic crisis back in 1997. Hence, the government launched a campaign for “sustainable economy”. This resulted in a concerted effort by Thai people to live a simple, down-to-earth lifestyle and a nostalgic recall of the past that was so impressive and memorable. 2) the creation of a stream of new values for everyone to cherish. For example, the concept of nationalism and the famous “Boonlert” the buffalo following the release of the film Bang Rajan (2000); the screen appearance in group of 4 leading comedians and the use of gags in the movie trailers of Muepuen/Loke/Pra/Chan (2001); the phenomenon of nostalgia in the film Fan Chan (2003); the role of Buddhist monk played by well-known comedian Teng Terdterng in the film Luang Pee Teng (2005) and finally, the sudden rise to fame of Panom Yeerum, the martial arts screen actor in Toom Yum Kung (2005). Other factors include the marketing strategies using integrated media and related channels, the internal factors (the production of comedy and action films, the two most favorite genres of all times) and the external factors (marketing strategies using movie trailers to stimulate the utmost interest of the film audience).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.443-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาพยนตร์ไทยen_US
dc.subjectความสำเร็จทางธุรกิจen_US
dc.subjectMotion pictures, Thaien_US
dc.subjectSuccess in businessen_US
dc.titleปัจจัยความสำเร็จของภาพยนตร์ที่ทำรายได้สูงสุดของบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2542-2552en_US
dc.title.alternativeKey success factors of top grossing Thai film production companies during 1999-2009en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการภาพยนตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRuksarn.V@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.443-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sippapas_tr.pdf48.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.