Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์-
dc.contributor.authorอุบลรัชต์ ลิ้มประภาสิริกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-03-23T01:58:32Z-
dc.date.available2007-03-23T01:58:32Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741767978-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3472-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการขจัดสารประกอบกำมะถันของถ่านหินลิกไนต์ ถูกดำเนินการโดยกระบวนการไพโรไลซิสในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง งานวิจัยนี้ศึกษาผลของอุณหภูมิ เวลา อัตราการไหลแก๊ส และบรรยากาศแก๊ส ผลของภาวะพบว่าอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่มีผลต่อการแจกแจงผลิตภัณฑ์ นอกเหนือจากสมบัติของถ่านหิน ที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส อัตราการไหลแก๊ส 1.5 ลิตรต่อนามี ในบรรยากาศไนโตรเจนพบว่า ร้อยละและการขจัดกำมะถันรวมเป็น 65 ซึ่งร้อยละการขจัดกำมะถันไพไรต์ กำมะถันซัลเฟต และกำมะถันอินทรีย์เป็น 90, 89 และ 50 ตามลำดับ ในบรรยากาศแก๊สผสมไนโตรเจนและไฮโดรเจน และแก๊สผสมไนโตรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส อัตราการไหลแก๊ส 1.0 ลิตรต่อนาที พบว่า ร้อยละการขจัดกำมะถันรวมสูงสุดเป็น 66 และ 69 ตามลำดับ ในบรรยากาศแก๊สผสมขจัดกำมะถันไพไรต์ได้ดีกว่า ในบรรยากาศไนโตรเจนทุกช่วงอุณหภูมิ เนื่องจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนสูงกว่า ในบรรยากาศแก๊สผสมทุกช่วงอุณหภูมิให้ค่าการขจัดกำมะถันซัลเฟต ต่ำกว่าในบรรยากาศไนโตรเจน การขจัดกำมะถันอินทรีย์มีผลมากในช่วงอุณหภูมิสูง (700-800 องศาเซลเซียส) สำหรับบรรยากาศไนโตรเจนและบรรยากาศแก๊สผสม นอกจากนั้นการขจัดกำมะถันในถ่านหินเถ้าสูง ให้ค่าการขจัดกำมะถันรวมต่ำกว่าในถ่านหินเถ้าต่ำen
dc.description.abstractalternativePyrolysis desulfurization of lignite was performed in a fixed-bed reactor. The experiments were carried out to investigate the effects of temperature, reaction time, gas flow rate and gas atmospheres. The results obtained indicated that, besides coal properties, temperature is the most important factor, which affects the product distribution of pyrolysis. The total sulfur removal of lignite at 800 ํC and gas flow rate of 1.5 l/min in nitrogen atmosphere was 64% in which pyritic, sulfate and organic sulfur removal was 90, 89 and 50%, respectively. In nitrogen and hydrogen atmosphere and nitrogen and carbondioxide atmosphere, at 800 ํC and gas flow rate of 1.0 l/min the total sulfur removal was 66 and 69%, respectively. The gas mixture atmosphere gave the higher pyritic sulfur removal than nitrogen atmosphere at all temperatures due to the higher heat transfer coefficient of carbondioxide. But the gas mixture atmosphere yielded the lower sulfate sulfur removal than nitrogen atmosphere. The high temperatures(700-800 ํC) was more effected on the organic sulfur removal for nitrogen and gas mixture atmospheres. In addition, the high-ash coal exhibited the lower sulfur removal than low-ash coalen
dc.format.extent1269130 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectถ่านหินen
dc.subjectกำมะถันen
dc.subjectการแยกสลายด้วยความร้อนen
dc.subjectฟลูแกส--การกำจัดกำมะถันen
dc.titleการแจกแจงผลิตภัณฑ์และพฤติกรรมของกำมะถัน ระหว่างการไพโรไลส์ถ่านหินในบรรยากาศแก๊สต่าง ๆen
dc.title.alternativeProduct distribution and sulfur behavior during coal pyrolysis in various gas atmospheresen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorppattara@netserv.chula.ac.th, Pattarapan.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorppattara@netserv.chula.ac.th, Pattarapan.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubonrat.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.