Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระชาติ วหาวิศาล
dc.contributor.advisorยรรยง เต็งอำนวย
dc.contributor.authorอดิศร กรุงเกษม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-08-13T10:31:21Z
dc.date.available2013-08-13T10:31:21Z
dc.date.issued2528
dc.identifier.isbn9745648531
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34805
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en_US
dc.description.abstractภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีใช้อยู่ในประเทศไทย ปัจจุบันนี้มีวากยสัมพันธ์เป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดข้อจำกัดสำหรับผู้ใช้บางกลุ่มที่ไม่สันทัดภาษาอังกฤษ จึงมีผลทำให้การเขียนโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยไม่แพร่หลายเท่าที่ควร ด้วยเหตุดังกล่าวและเพื่อเป็นการเสริมสร้างและปลูกฝังเอกลักษณ์การใช้ภาษาไทยผนวกไปกับวิทยาการที่ได้มาจากต่างประเทศ การวิจัยนี้จึงทำการสร้างตัวแปลแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทย การวิจัยนี้ประกอบด้วยสองขั้นตอน ขั้นแรกจะทำการออกแบบภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทยที่มีคำสั่งเป็นคำสั่งภาษาไทย และตัวอักขระที่ใช้ในโปรแกรมจะเป็นอักขระไทยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทยนี้ประกอบด้วยส่วนสำคัญ สองส่วน คือ ส่วนข้อมูลและส่วนคำสั่งและโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทยจะเป็นแบบโปรแกรมโครงสร้าง ขั้นตอนมาเป็นการสร้างตัวแปรภาษาเพื่อแปลโปรแกรมดิบที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทยเป็นผลลัพท์ไปสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ตัวแปลภาษาประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทย ซึ่งแปลโปรแกรมดิบให้เป็นรหัสระหว่างกลาง และตัวแปลคำสั่งรหัสระหว่างกลางซึ่งทำการประมวลผลตามรหัสระหว่างกลางบนเครื่องคอมพิวเตอร์ การวิจัยนี้ยังใช้เป็นแนวทางพัฒนาการใช้ภาษาไทยสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์คำสั่งภาษาไทยที่ออกแบบขึ้นนี้สามารถใช้เป็นเครื่องมือเขียนโปรแกรมทางด้านซอฟแวร์ประยุกต์ภาษาไทย และนำไปใช้พัฒนาซอฟแวร์ระบบที่เป็นภาษาไทย เช่น ระบบปฏิบัติการภาษาไทย เป็นต้น
dc.description.abstractalternativeAll computer languages, which are widely used in Thailand, are based on English. Therefore, only people who are fluent in English can use the computer effectively. This has limited computer usage in Thailand. This research is aimed at increasing the opportunity for people who do not understand English and to encourage the usage of Thai-language in the construction of software. The research composes of two portions. The first portion is the design of a Thai computer language that has instructions and characters in Thai. This language composes of two main parts, the data and the actions or statements. The language is also structured. The second portion of the research is the construction of a translator or compiler for this language. The translation process consists of two parts : a Thai computer language compiler which translates the source program into intermediate codes, and an intermediate-code interpreter which executes the intermediate-code program on the target computer. This research can be used as a tool for developing Thai-language computers. The Thai-instruction set can be used in writing application software. Development of system software in Thai such as Thai operating systems, can also benefit from the result of this research.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการสร้างตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาไทยen_US
dc.title.alternativeA construction of Thai-language compileren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Adisorn_kr_front.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_kr_ch1.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_kr_ch2.pdf15.06 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_kr_ch3.pdf77.04 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_kr_ch4.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_kr_back.pdf26.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.