Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชลทิชา สุทธินิรันดร์กุล
dc.contributor.authorเยาวเรศ อุดมอานุภาพสุข
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-08-14T12:21:24Z
dc.date.available2013-08-14T12:21:24Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.isbn9746315587
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35286
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดทำดรรชนีของหนังสือวิชาการที่จัดพิมพ์ โดยสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์ลักษณะดรรชนีที่ปรากฏในหนังสือวิชาการ ศึกษาวิธีการจัดทำดรรชนีตลอดจนปัญหาในการทำและสาเหตุของการไม่ทำดรรชนีของผู้เขียนหนังสือวิชาการ ผลการวิจัยพบว่า สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ไม่มีนโยบายการจัดทำดรรชนีหนังสือวิชาการอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร มีเพียงสำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแห่งเดียวที่กำหนดนโยบายการจัดทำดรรชนีหนังสือวิชาการ จากการสำรวจหนังสือวิชาการที่มีดรรชนีทั้งหมด 110 รายการ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นหนังสือในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (84 รายการ) รองลงมาเป็นหนังสือในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ (14 รายการ) และสาขาวิชามนุษยศาสตร์ (12 รายการ) ตามลำดับ ประเภทของดรรชนีที่จัดทำ คือ ดรรชนีรวม ปริมาณหน้าของดรรชนีโดยเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 3.37 ต่อเล่ม ดรรชนีส่วนใหญ่ไม่มีรายการโยง การจัดเรียงลำดับดรรชนีใช้วิธีเรียงอักษรต่ออักษร การลงรายการศัพท์ดรรชนีใช้ทั้งหัวเรื่องใหญ่และหัวเรื่องรอง การระบุเลขหน้าใช้วิธีเว้นระยะให้เลขหน้าอยู่ในแนวเดียวกัน การวางรูปหน้าแบ่งเป็น 2 คอลัมน์ ดรรชนีหนังสือส่วนใหญ่มีตัวอักษรกำกับกลุ่มพยัญชนะ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยอย่างเดียว ปัญหาที่ผู้เขียนส่วนใหญ่ประสบคือ การทำดรรชนีทำให้สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมต้นฉบับมากขึ้นและสาเหตุที่ผู้เขียนส่วนใหญ่ไม่ทำดรรชนี คือ สำนักพิมพ์ไม่ได้ระบุให้ทำดรรชนีหนังสือ
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the indexing of the textbooks published by university presses, to examine the characteristics of book indexes, and to identify problems of indexing. The research reveals that most of the university presses except Chulalongkorn University Press do not have written policy about book indexing. Among the 110 textbooks which include back-of-book indexes, the majority of book indexes are found in science and technology textbooks (84 titles) and consecutively in social sciences (14 titles) and humanities (12 titles). Most indexes are dictionary indexes. The ratio of number of index pages to the number of book pages is 3.37%. Most of them have no cross-references and are arranged alphabetically letter-by-letter. Most indexes use headings with subheadings as index entry and divide pages into two columns. The language of most indexes is Thai. The problems of making back-of-book indexes are the cost in time and money. The reason of the authors whose books have no index is the lack of requirement from the publishers.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำดัชนี
dc.subjectสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
dc.titleการจัดทำดรรชนีของหนังสือวิชาการ ที่จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeThe indexing of textbooks published by university pressesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yaowares_ud_front.pdf4.62 MBAdobe PDFView/Open
Yaowares_ud_ch1.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open
Yaowares_ud_ch2.pdf17.55 MBAdobe PDFView/Open
Yaowares_ud_ch3.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
Yaowares_ud_ch4.pdf12.96 MBAdobe PDFView/Open
Yaowares_ud_ch5.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open
Yaowares_ud_back.pdf11.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.