Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35301
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประสงค์ ศรีเจริญชัย | - |
dc.contributor.author | เผ่าพันธุ์ เอื้ออารีย์กุลเลิศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-14T14:15:49Z | - |
dc.date.available | 2013-08-14T14:15:49Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35301 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์นี้คือศึกษาผลของกรรมวิธีทางความร้อนต่อโครงสร้างจุลภาค ความแข็งและปริมาณออสเทนไนต์ของเหล็กกล้า AISI 52100 ชิ้นงานมีขนาด 25x25x25มม. แปรผันอุณหภูมิอบให้เป็นออสเทนไนต์ในช่วง 800-900℃ เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จากนั้นเย็นตัวเร็วด้วยน้ำมันและอบคืนตัวที่อุณหภูมิ 150℃ เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบแสง วัดความแข็งด้วยเครื่องวัดความแข็งแบบร็อกเวลล์และหาปริมาณออสเทนไนต์เหลือค้างด้วยเครื่องรังสีเอ็กซ์แบบเลี้ยวเบน การเพิ่มอุณหภูมิอบชิ้นงานให้สูงขึ้นจาก 800℃ ถึง 900℃ ทาให้ปริมาณซีเมนไตต์ที่ไม่ละลายลดลงจาก 8.5% เป็น 2.8% และปริมาณออสเทนไนต์เหลือค้างเพิ่มขึ้นจาก 5.3% เป็น 20.1% อุณหภูมิอบให้เป็นออสเทนไนต์สูงขึ้นทำให้ซีเมนไตต์ละลายมากขึ้น ปริมาณคาร์บอนในออสเทนไนต์เพิ่มขึ้นทำให้ออสเทนไนต์มีเสถียรภาพมากขึ้น ดังนั้นปริมาณออสเตนไนต์เหลือค้างจึงมากขึ้นหลังการเย็นตัวเร็วแล้วอบคืนตัว เมื่ออุณหภูมิอบให้เป็นออสเทนไนต์เพิ่มจาก 800℃ เป็น 845℃ ความแข็งเพิ่มขึ้นเป็นลักษณะเส้นตรงจาก 61.3 HRC เป็น 64.3 HRC ซึ่งเป็นค่าสูงสุด เนื่องจากการละลายอิ่มตัวยิ่งยวดของคาร์บอนในมาร์เทนไซด์เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิอบให้เป็นออสเทนไนต์เพิ่มจาก 845℃ เป็น 900℃ ความแข็งลดลงจาก 64.3 HRC เป็น 59.9 HRC ความแข็งลดลงตามการเพิ่มขึ้นของออสเทนไนต์เหลือค้างที่ความแข็งต่ำ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The object of this thesis is to study effects of heat treatment on microstructure, hardness and amount of retained austenite of AISI 52100 steel. The dimension of specimens is 25x25x25 mm. Austenitizing temperature is varied in range of 800-900℃ for 1 hour, then oil quenched and tempered at temperature of 150℃ for 1 hour. Microstructure is observed by an optical microscope. Hardness is measured by Rockwell hardness tester and the amount of retained austenite is measured by x-ray diffractometer. The increase in austenitizing temperature from 800℃ to 900℃ results in the decrease of undissolved cementite from 8.5% to 2.8% and the increase of retained austenite from 5.3% to 20.1%. Higher austenitizing temperature causes more cementite dissolved, then more carbon content is dissolved in austenite and austenite becomes more stable. Consequently, retained austenite content is more after quenching and tempering. When austenitizing temperature increases from 800℃ to 845℃, the hardness increases linearly from 61.3 HRC to 64.5 HRC which is the maximum hardness because the supersaturation of carbon in martensite increases. When austenitizing temperature increases from 845℃ to 900℃, the hardness decreases from 64.3 HRC to 59.9 HRC. Hardness decreases due to the increase of low-hardness retained austenite. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.18 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เหล็กกล้า -- วิธีทางความร้อน | en_US |
dc.subject | Steel -- Heat treatment | en_US |
dc.title | พฤติกรรมเชิงกรรมวิธีทางความร้อนของเหล็กกล้า AISI 52100 | en_US |
dc.title.alternative | Heat treatment behavior of AISI 52100 steel | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโลหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Prasonk.S@chula.ac.th, fmtpsc@eng.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.18 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
phaophan_eo.pdf | 8.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.