Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉลอง สุนทราวาณิชย์-
dc.contributor.authorธรรมรักษ์ จำปา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-18T09:39:47Z-
dc.date.available2013-08-18T09:39:47Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746345303-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35472-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจข้าวในภาคกลางที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย ศึกษาวิเคราะห์จากปัจจัยแวดล้อมการผลิตและการค้าข้าวในช่วง พ.ศ. 2460-2498 ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมไทย การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจข้าวในช่วงเวลาดังกล่าวแบ่งออกเป็น 4 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ภาวะข้าวยากหมากแพง วิกฤติการณ์ข้าว ปี 2460-2463 ช่วงที่ 2 เศรษฐกิจโลกตกต่ำปี 2473 ช่วงที่ 3 สงครามโลกครั้งที่ 2 การเข้ามาของกองทัพญี่ปุ่น ช่วงที่ 4 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เงื่อนไขดังกล่าว สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปรของปัจจัยด้านอื่น ๆ เช่น ปัญหาด้านที่ดิน แรงงานทุน และการเก็บกำไรของราคาข้าว แม้รัฐบาลจะกำหนดมาตรการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจข้าวด้วยมาตรภาษี การควบคุมการค้า ราคาข้าวและการส่งเสริมผลิตข้าว ด้วยมาตรการภาษี การควบคุมการค้าและราคาข้าวและการส่งเสริมการผลิตข้าว แต่เศรษฐกิจของไทยก็ยังมีลักษณะถดถอย คือ มูลค่าของสินค้าข้าวลดลง ในขณะที่ปริมาณการผลิตและการส่งออกเพิ่มขึ้น ตลอดช่วง พ.ศ. 2460-2498 จากการศึกษาพบว่า ชาวนา เจ้าที่ดินบางส่วน และพ่อค้าคนจีนต่างก็ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจข้าว ชาวนา เจ้าที่ดินต้องสูญเสียที่ดิน พ่อค้าข้าว ไม่สามารถค้าข้าวได้กำไรเท่าเดิม นอกจากนี้นโยบายของรัฐบาลกลับทำให้พ่อค้าสามารถผูกขาดการค้าไว้ได้ กลับทำให้เป็นการผูกขาดการค้าข้าวในกลุ่มพ่อค้าคนจีน หลังสงครามโลกเป็นต้นมา-
dc.description.abstractalternativeThe thesis studied and analysis of factory of the production and rice trade during 1917-1955 and their impact on the inter-relationship among groups in Thai society. The changing of rice economy at that time can be devided into four periods : first, farm and the rice crisis 1917-1920, second, the great depression 1930’s, third, World War II and Japanese occupation of 1945 and Post World War II. Though the government had provided the way to solve economic problems by changing the tax policy, controlling the price of rice and the rice trade, and promoting rice production, Thai rice economy still declined. The price of rice fell down in spite of the quantity of production for export are increased. sThe impact of such change are enormous. Many farmers and some landlords lost their land, whereas Chinese rice merchants lost their profits. However, the policy of the government could help the merchants to monopolize the rice trade after World War II.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจข้าวในภาคกลางกับผลกระทบต่อสังคมไทยช่วง พ.ศ. 2460-2498en_US
dc.title.alternativeChanges in the rice economy in central Thailand and their impact on Thai society, 1917-1955en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thammarak_ch_front.pdf756.19 kBAdobe PDFView/Open
Thammarak_ch_ch1.pdf818.21 kBAdobe PDFView/Open
Thammarak_ch_ch2.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open
Thammarak_ch_ch3.pdf11.18 MBAdobe PDFView/Open
Thammarak_ch_ch4.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Thammarak_ch_ch5.pdf651.98 kBAdobe PDFView/Open
Thammarak_ch_back.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.