Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรเทพ เขียวหอม | - |
dc.contributor.author | ศรัณ จันทร์พวง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-28T07:39:51Z | - |
dc.date.available | 2013-08-28T07:39:51Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35706 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en_US |
dc.description.abstract | ในกระบวนการระเหยน้ำของเหลวดำ ในกระบวนการนำกลับมาเป็นเชื้อเพลิงของหม้อต้มไอน้ำ หลังจากมีการใช้งานระยะหนึ่ง เครื่องระเหยจะถ่ายเทความร้อนได้น้อยลง ทำให้มีประสิทธิภาพน้อยลง อันเนื่องมาจากการก่อตัวของตะกรันที่ผิวของท่อ ประสิทธิภาพที่น้อยลงทำให้ต้องสูญเสียพลังงานมากขึ้นเรื่อยๆ และทำให้ต้องหยุดกระบวนการผลิตเพื่อทำการบำรุงรักษาเครื่องระเหย การวางแผนในการบำรุงรักษาที่ดีย่อมทำให้การระเหยมีประสิทธิภาพสูงสุด งานวิจัยนี้ได้ทำการสร้างเครื่องทดสอบการก่อตัวของตะกรัน ที่อุณหภูมิ 80 90 100 110 และ120 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นค่าที่อยู่ในช่วงของการใช้งานในเครื่องระเหย จากการทดลองค่าความต้านทานของตะกรันมีแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ตามความสัมพันธ์เป็นดังสมการ Rf = 0.00131(1-e-0.10339t) – 0.00037 ที่อุณหภูมิ 80°C เมื่อ t ≥ 2.5 ชั่วโมง Rf = 0.00138(1-e-0.09388t) – 0.00023 ที่อุณหภูมิ 90°C เมื่อ t ≥ 2.2 ชั่วโมง Rf = 0.00174(1-e-0.08309t) – 0.00017 ที่อุณหภูมิ 100°C เมื่อ t ≥ 1.6 ชั่วโมง Rf = 0.00210(1-e-0.07726t) – 0.00011 ที่อุณหภูมิ 110°C เมื่อ t ≥ 1.3 ชั่วโมง Rf = 0.00258(1-e-0.06610t) – 0.00010 ที่อุณหภูมิ 120°C เมื่อ t ≥ 0.9 ชั่วโมง โดยที่ คือค่าความต้านทานตะกรันรวม และ t คือเวลาในการทดลอง ซึ่งจากการทดลองพบว่าที่เพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการการก่อตัวของตะกรันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนลดลง และทำให้เครื่องระเหยมีประสิทธิภาพน้อยลงตามไปด้วย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The evaporation of the black liquid of the fuel boiler recycling evaporator, after a certain period the evaporator heat transfer will be less leads the less efficient. This is according to the formation of fouling on the surface of the pipe. To be less effective leads increasing energy loss and the need to stop production for essential maintenance. Good maintenance plan will make the most efficient evaporation. This research was conducted to test the formation of slag at temperatures of 80, 90, 100, 110 and 120 degrees Celsius, which is in the range of applications in the evaporator. From the trial values the resistances of the fouling have a replica mathematical that shows the relationship is as follows. Rf = 0.00131(1-e-0.10339t) – 0.00037 at 80°C where t ≥ 2.5 hour Rf = 0.00138(1-e-0.09388t) – 0.00023 at 90°C where t ≥ 2.2 hour Rf = 0.00174(1-e-0.08309t) – 0.00017 at 100°C where t ≥ 1.6 hour Rf = 0.00210(1-e-0.07726t) – 0.00011 at 110°C where t ≥ 1.3 hour Rf = 0.00258(1-e-0.06610t) – 0.00010at 120°C where t ≥ 0.9 hour When overall thermal resistance coefficient, and t is the experimental time. The result demonstrated that the scale deposition would increase with increasing temperature of the system. Consequently, the efficiency of heat transfer would be reduced and the evaporation of the black liquor in the evaporator would be reduced as well. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.608 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ของเหลว | en_US |
dc.subject | เครื่องระเหย | en_US |
dc.subject | Liquids | en_US |
dc.subject | Evaporators | en_US |
dc.title | การก่อตัวของตะกรันและผลกระทบของตะกรันในกระบวนการระเหยของเหลวดำ | en_US |
dc.title.alternative | Fouling formation and the impact of fouling in black liquor evaporation process | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | soorathep.k@eng.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.608 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
saran_ch.pdf | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.