Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35983
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrarom Salimee-
dc.contributor.advisorChairat Wiwatwarrapan-
dc.contributor.authorArinrat Utsanakul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2013-09-28T05:30:34Z-
dc.date.available2013-09-28T05:30:34Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35983-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)-- Chulalongkorn University, 2010en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to evaluate the corrosion resistance of four types of dental alloys: Au-Pd, Ag-Pd, Ni-Cr and Cu-Al alloys covered by two different dental cements using immersion test in acidic solution. The alloys were cast into ten disc-shaped specimens (5.0 mm diameter and 0.8 mm thick). Each alloy was divided into two groups of five according to the types of cement. Each specimen was covered on one side individually by zinc phosphate cement (Zinc Cement Improved) or resin cement (Panavia F 2.0) with 0.70 mm thick. The specimens were immersed in 10 ml lactic acid/NaCl solution (pH = 2.25) and maintained in incubator at 37 °C for 7 days. The solution without specimens was used as a negative control. The released elements from each alloy into the solution were measured using inductively coupled plasma optical emission spectroscopy (ICP-OES). The elements released after 7 days immersion were reported in µg/ cm². The results found that the elements released from Au-Pd were not detected. Mean of the total elemental release of Au-Pd, Ag-Pd, Ni-Cr and Cu-Al alloys covered with Zinc Cement Improved was 4.19±2.30, 2.31±1.14 and 185.50±17.83 µ g/ cm², respectively. Au-Pd, Ag-Pd, Ni-Cr and Cu-Al alloys covered with Panavia F 2.0 was 3.69±1.51, 2.13±0.60 and 247.31±90.63 µg/cm2, respectively. Two-way ANOVA and Tamhane multiple comparisons analysis revealed the total elemental release of Cu-Al alloy was significantly higher than other alloys when covered with Zinc Cement Improved and Panavia F 2.0 (p<0.05). No significant differences were found among each alloy when cemented with Zinc Cement Improved and Panavia F 2.0 (p>0.05). The amount of elemental release was associated with corrosion resistance that was affected by types of dental alloys but not by the two types of tested cement.en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความต้านทานการกัดกร่อนของโลหะผสมทางทันตกรรม 4 ชนิดที่ใช้สำหรับทำเดือยฟัน ได้แก่ โลหะผสมทอง-พาลาเดียม โลหะผสมเงิน-พาลาเดียม โลหะผสมนิเกล-โครเมียม และโลหะผสมทองแดง-อะลูมิเนียม เมื่อเคลือบด้วยซีเมนต์ 2 ชนิด ด้วยวิธีการทดสอบโดยการแช่ในสารละลายที่เป็นกรด โดยนำโลหะไปขึ้นรูปเป็นชิ้นหล่อที่มีรูปร่างเป็นแผ่นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.0 มิลลิเมตร หนา 0.8 มิลลิเมตร จำนวนชนิดละ 10 ชิ้นตัวอย่าง จากนั้นแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ชิ้น เพื่อเคลือบชิ้นตัวอย่างแต่ละชิ้นเพียงด้านเดียวด้วยซิงค์ฟอสเฟสซีเมนต์ (ซิงค์ซีเมนต์อิมพรูฟ) หรือเรซินซีเมนต์ (พานาเวียเอฟสอง) หนา 0.70 มิลลิเมตร หลังจากนั้นนำชิ้นตัวอย่างแต่ละชิ้นแช่ลงในหลอดทดลองซึ่งบรรจุสารละลายผสมของกรดแลกติกและโซเดียมคลอไรด์ปริมาณ 10 มิลลิลิตร (ค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 2.25) ในตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลา 7 วัน โดยใช้สารละลายที่ไม่มีชิ้นตัวอย่างเป็นกลุ่มควบคุม นำสารละลายไปวิเคราะห์ปริมาณธาตุที่ถูกกัดกร่อนด้วยเครื่องอินดักทีฟลี คับเปิล พลาสมา ออฟติคอล อิมิชชัน สเปกโทรสโคป โดยรายงานผลจากปริมาณธาตุที่ปล่อยสู่สารละลายในระยะเวลา 7 วันในหน่วยไมโครกรัมต่อตารางเซนติเมตร ผลการศึกษาพบว่าโลหะผสมทอง-พาลาเดียมไม่ปล่อยธาตุออกสู่สารละลาย ค่าเฉลี่ยของปริมาณธาตุทั้งหมดที่ปล่อยออกสู่สารละลายในโลหะผสมเงิน-พาลาเดียม โลหะผสมนิเกล-โครเมียม และโลหะผสมทองแดง-อะลูมิเนียมเมื่อเคลือบด้วยซิงค์ซีเมนต์อิมพรูฟเท่ากับ 4.19±2.30 2.31±1.14 และ 185.50±17.83 ไมโครกรัมต่อตารางเซนติเมตรตามลำดับ โลหะผสมเงิน-พาลาเดียม โลหะผสมนิเกล-โครเมียม และโลหะผสมทองแดง-อะลูมิเนียม เมื่อเคลือบด้วยพานาเวียเอฟสองปล่อยปริมาณธาตุออกสู่สารละลายเท่ากับ 3.69±1.51 2.13±0.60 และ 247.31±90.63ไมโครกรัมต่อตารางเซนติเมตรตามลำดับ การทดสอบทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทางและการเปรียบเทียบชนิดแทมเฮนพบว่า โลหะผสมทองแดง-อะลูมิเนียมปล่อยปริมาณธาตุมากกว่าโลหะชนิดอื่นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเคลือบด้วยซิงค์ซีเมนต์อิมพรูฟและพานาเวียเอฟสอง ในขณะที่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในโลหะแต่ละชนิดเมื่อเคลือบด้วยซิงค์ซีเมนต์อิมพรูฟและพานาเวียเอฟสอง ปริมาณธาตุที่ปล่อยออกมาสัมพันธ์กับความต้านทานการกัดกร่อน ซึ่งได้รับผลจากชนิดของโลหะผสมแต่ไม่ได้รับผลจากซีเมนต์ 2 ชนิดที่ใช้ในการทดสอบen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.837-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectCorrosion and anti-corrosivesen_US
dc.subjectDental resinsen_US
dc.subjectDental materialsen_US
dc.subjectการกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อนen_US
dc.subjectเรซินทางทันตกรรมen_US
dc.subjectทันตวัสดุen_US
dc.titleThe corrosion resistance of post metal alloys covered by two cementsen_US
dc.title.alternativeความต้านทานการกัดกร่อนของโลหะผสมสำหรับทำเดือยฟันเมื่อเคลือบด้วยซีเมนต์สองชนิดen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineProsthodonticsen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorprarom@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.837-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
arinrat_ut.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.