Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSiripun Sanguansintukul-
dc.contributor.authorNaroumon Yordphet-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2013-10-24T10:55:57Z-
dc.date.available2013-10-24T10:55:57Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36353-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010en_US
dc.description.abstractTo present the safety stock calculation based on consumption of components in the jewelry business was investigated using the forecasting capability of an Artificial Neural Network (ANN). Generally, this business also has links with fashion; therefore, rapid change in the fashion industry makes the forecasting situation more complicated. The demand fluctuates with customer requirements and high competition in the marketplace. Factors such as late delivery and bad component quality can cause shortages of components. To prevent shortages, provide support to supply management and enhance customer satisfaction, an ANN is utilized for consumption forecast. Safety stock is the way to protect against shortages. Safety stock is created when a company either orders before an order is needed or orders more than the expected demand. In the contrast, keeping less safety stock is important for decreasing cost and increasing interests for a firm. In practice, business has calculated safety stock based on their experiences, non theoretical support, and leads for retaining component in the warehouse. Hence, safety stock is essential to protect against the fluctuation of unexpected demand and supply. The central focus of this paper is to enhance the forecast on safety stock accuracy in the jewelry business. The artificial neural network is employed as a tool for the prediction. It is assumed that the accurate consumption leads to the accuracy in safety stock calculation.en_US
dc.description.abstractalternativeนำเสนอ การคำนวณสินค้าคงเหลือขั้นต่ำบนพื้นฐานของการบริโภคของชิ้นส่วนในอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ซึ่งถูกตรวจสอบโดยใช้ความสามารถในการพยากรณ์ของโครงข่ายประสาทเทียม โดยปกติธุรกิจเครื่องประดับเกี่ยวข้องกับสมัยนิยม ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การพยากรณ์มีความซับซ้อนมากขึ้น อุปสงค์มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามความต้องการของลูกค้า และการแข่งขันที่รุนแรงในตลาดการค้า ปัจจัยเช่น การส่งมอบสินค้าที่ล่าช้าและคุณภาพของส่วนประกอบของสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน อาจเป็นสาเหตุให้ส่วนประกอบของสินค้าขาดแคลน เพื่อป้องกันการขาดแคลนของส่วนประกอบของสินค้าสนับสนุนการจัดการอุปทาน และการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า โครงข่ายประสาทเทียมจึงถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการพยาการณ์การบริโภคสินค้าคงเหลือขั้นต่ำ เป็นวิธีทางหนึ่งที่ช่วยในการป้องการขาดแคลนสินค้าคงเหลือขั้นต่ำ ถูกสร้างขึ้นเมื่อบริษัทมีคำสั่งซื้อส่วนประกอบเพื่อการผลิต หรือมีคำสั่งซื้อมากกว่าความต้องการ ในทางตรงกันข้าม การมีสินค้าคงเหลือขั้นต่ำเป็นสิ่งสำคัญต่อการลดค่าใช้จ่าย และเป็นสิ่งที่อยู่ในความสนใจของบริษัท ในทางปฎิบัติ อุตสาหกรรมได้ทำการคำนวณสินค้าคงเหลือขั้นต่ำด้วยประสบการณ์ของตนเอง โดยขาดองค์ความรู้ในการสนับสนุนการคำนวณสินค้าคงเหลือขั้นต่ำ และนำไปสู่การคงเหลือของส่วนประกอบของสินค้าในสินค้าคงคลัง ดังนั้น สินค้าคงเหลือขั้นต่ำเป็นสิ่งที่สำคัญในการป้องกันการผันผวน ที่ไม่อาจคาดเดาได้ของอุปสงค์และอุปทาน วิทยาพนธ์นี้เน้นการเพิ่มความถูกต้องของการพยากรณ์ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับ โครงข่ายประสาทเทียมถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพยากรณ์ โดยมีสมมุติฐานที่ว่าความถูกต้องของการบริโภคนำไปสู่การคำนวณสินค้าคงเหลือขั้นต่ำที่แม่นยำen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.878-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectNeural networks (Computer science)en_US
dc.subjectJewelry trade -- Inventoriesen_US
dc.subjectConsumption (Economics) -- Forecastingen_US
dc.subjectนิวรัลเน็ตเวิร์ค (คอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอัญมณี -- สินค้าคงคลังen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องประดับ -- สินค้าคงคลังen_US
dc.subjectบริโภคกรรม (เศรษฐศาสตร์) -- พยากรณ์en_US
dc.titleSafety stock calculation for jewelry industries based on consumption forecast by artificial neural networken_US
dc.title.alternativeการคำนวณสินค้าคงเหลือขั้นต่ำสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับด้วยการพยากรณ์การบริโภคโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineComputer Science and Informationen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSiripun.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.878-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
naroumon_yo.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.