Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัณห์ พณิชยกุล
dc.contributor.authorศรินทิพ อานามนารถ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-11-27T06:47:45Z
dc.date.available2013-11-27T06:47:45Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745775193
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36736
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractProteus rettgeri SPS-6 เป็นจุลชีพที่สามารถผลิตเอนไซม์เพนนิซิลน เอซิเลสได้แบบ con-stitutive เมื่อเจริญในอาหารสูตรปรับต่ำที่ใช้กลูโคสเป็นแหล่งต้นตอคาร์บอนเดี่ยว จากการศึกษาแหล่งต้นตอคาร์บอนที่เหมาะสมต่อการเจริญ และการผลิตเอนไซม์เพนนิซิลิน เอซิเลส ของ Proteus rettgeri SPS-6 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ผลิตเพนนิซิลิน เอซิเลสได้สูง พบว่า เมื่อเจริญ P. rettgeri SPS-6 ในอาหารสูตรปรับต่ำที่เสริมด้วยแป้งไฮโตรไลซ์ 1.0% ที่อุณหภูมิ 28 °ซ. จะให้แอคติวิตีของเอนไซม์สูงสุดประมาณ 160 หน่วย/มก.โปรตีนรวมของเซลล์ โดยที่การสังเคราะห์เอนไซม์เพนนิซิลิน เอซิเลส ของ P. rettgeri SPS-6 จะถูกกดดันด้วยปฏิกิริยาคะตาโบไลท์ รีเพรสชั่น เมื่อใช้ความเข้มข้นของแป้งไฮโดรไลซ์สูงกว่านี้ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้สารละลายกลูโค-เดกตริน (แบะแซ) เป็นแหล่งต้นตอคาร์บอนได้ดีเช่นเดียวกัน แต่ไม่สามารถใช้กากน้ำตาล (10%) หรือกรดอะมิโนซีสเตอีน (0.25%) เป็นแหล่งต้นตอคาร์บอนของการเจริญ และผลิตเอนไซม์ได้ ในขณะที่ กรดอะมิโนแอสปาร์ติกสามารถเพิ่มการเจริญของสายพันธุ์ SPS-6 ได้สูงขึ้นแต่ความสามารถในการสังเคราะห์เพนนิซิลน เอซิเลสลดต่ำลง ส่วนกรดอะมิโนวาลีนจะยับยั้งทั้งการสั่งเคราะห์เอนไซม์และการเจริญ P. rettgeri SPS-6 สามารถใช้เกลือแอมโมเนียมซัลเฟต และยูเรียเป็นแหล่งต้นตอไนโตรเจนได้ดีพอ ๆ กัน ในขณะที่ สารละลายย่อยด้วยกรดกำมะถันของกากถั่วเหลืองจะมีผลไปยับยั้งการผลิตเอนไซม์เพนนิซิลิน เอซเลส และเมื่อลดอุณหภูมิของการเลี้ยงเชื้อลงที่ 25 °ซ. และปรับ pH เริ่มต้นของอาหารเลี้ยงเชื้อเป็น 7.8 เซลล์ P rettgeri SPS-6 จะให้แอคติวิตีของไซม์สูงขึ้นเกือบ 1.5 เท่า (280 หน่วย/มก.โปรตีนรวม) และในการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญ และการผลิตเอนไซม์ของ P. rettgeri SPS-6 ในถังหมักขนาด 5 ลิตร พบว่า การใช้ความเร็วในการกวน 300 รอบ/นาที, อัตราการให้อากาศ 0.5 ปริมาตรอากาศ ต่อ ปริมาตรน้ำหนัก ต่อ นาที ควบคุมอุณหภูมิไว้ที่ 25 °ซ. เมื่อปรับ pH เริ่มต้นของอาหารเลี้ยงเชื้อเป็น 7.8 P. rettgeri SPS-6 จะให้ค่าแอคติวิตีสงสดของเอนไซม์สูงประมาณ 320 หน่วย/มก.โปรตีนรวม การป้อนกลูโคสอย่างต่อเนื่องเพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของกลูโคสในอาหารเลี้ยงเชื้อระหว่าง 2-3 มก./มล. ไม่มีผลในการเพิ่มแอคติวิตีของเพนนิซิลิน เอซิเลส แต่อย่างใด
dc.description.abstractalternativeProteus rettgeri SPS-6 could produce penicillin acylase (PAase) constitutively in minimal medium with glucose as a sole carbon source. When Proteus rettgeri SPS-6 grown in a minimum medium containing 1.0% starch hydrolysate at 28 ℃, yielding the maximum activity of PAase as high as 160 unit per mg total cell proteins. However, the production of P. rettgeri SPS-6 PAase was subject to catabolite repression by higher concentration of starch hydrolysate as well as glucose concentration more than 0.4 percents. The SPS-6 can not be growth on minimum medium supplement as the molasses (10%) or cysteine (0.25%) as a sole carbon source. Although aspartic acid (0.22%) can stimulate growth of P. rettgeri but partially retarded rate of PAase production, whole valine partly decreased both growth and enzyme synthesis. The SPS-6 strain can utilize both ammoniumsulfate and urea as a nitrogen source as well. Meanwhile, the acid hydrolysate of soybean meal inhibited PAase synthesis. Cultivation of P. rettgeri SPS-6 at 25 ℃ and the initial pH at 7.8 rendered the maximum activity of PAase at 280 unit per mg total cell proteins. The optimal conditions for growth and enzyme production in 5-L fermenter were found as follows : agitation rate was 300 rpm with 0.5 vvm aeration rate, at initial pH 7.8 and keeping temperature constant at 25 ℃. Under the optimal conditions, SPS-6 strain can produce maximum PAase activity as high as 320 unit per mg total cell proteins. Continuous feeding of glucose to maintain a constant concentration of carbon source in between 2-3 mg/ml did not resulting in any significance enrichment of PAase activity.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการผลิตเพนนิซิลิน เอซิเลส จาก Proteus rettgeri ในถังหมักen_US
dc.title.alternativeProduction of penicillin acylase from proteus rettgeri in fermenteren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarintip_an_front.pdf5.57 MBAdobe PDFView/Open
Sarintip_an_ch1.pdf8.59 MBAdobe PDFView/Open
Sarintip_an_ch2.pdf4.89 MBAdobe PDFView/Open
Sarintip_an_ch3.pdf10.37 MBAdobe PDFView/Open
Sarintip_an_ch4.pdf6.93 MBAdobe PDFView/Open
Sarintip_an_back.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.