Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย เยี่ยงวีรชน-
dc.contributor.authorทศพร ประดิษฐาราม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-03T13:11:15Z-
dc.date.available2013-12-03T13:11:15Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36770-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractแบบอาคารเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญ ประกอบด้วย ข้อมูลปริภูมิ และข้อมูลลักษณะประจำที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลในระบบสารสนเทศอาคาร เพื่อใช้สำหรับการบริหารจัดการอาคารในหลายด้าน เช่น การบริหารจัดการพื้นที่ การบริหารจัดการบำรุงรักษา การบริหารจัดการทรัพย์สิน เป็นต้น ซึ่งการเขียนแบบอาคารจะมีลักษณะไม่เอื้อต่อการนำข้อมูลไปใช้ในระบบสารสนเทศอาคารโดยตรง และไม่สามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลลักษณะประจำที่เกี่ยวข้อง ทำให้ไม่สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการอาคารแบบระบบสารสนเทศได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษา แนวทางในการแปลงข้อมูลแบบอาคารเชิงอิเล็กทรอนิกส์ให้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับระบบสารสนเทศอาคารได้ โดยศึกษาถึงความต้องการข้อมูลขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการเขียนแบบของข้อมูลแบบอาคาร 3 ประเภท คือ ผังอาคาร ระบบไฟฟ้า และระบบประปา เพื่อออกแบบแบบจำลองข้อมูลขั้นพื้นฐาน และกำหนดแนวทางการเขียนแบบที่รองรับกับแบบจำลองข้อมูล พร้อมพัฒนาชุดคำสั่งช่วยเขียนแบบ ปรับปรุงแบบเดิม และการนำเข้าข้อมูลลักษณะประจำ บนโปรแกรม AutoCAD จากการทดสอบการใช้ชุดคำสั่งพบว่า ชุดคำสั่งสามารถรองรับการเขียน ปรับปรุง แบบอาคาร และนำไปใช้งานด้วยโปรแกรม ArcView ได้ตามแบบจำลองอย่างถูกต้อง โดยสามารถลดระยะเวลาการเขียนแบบเมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ใช้ชุดคำสั่ง ในกรณีการเขียนแบบใหม่โดยเฉลี่ย 48.55% ต่อ 1 ชั้นอาคารen_US
dc.description.abstractalternativeThe building plans are important data consists of spatial data and attribute data which can be used in spatial information system for building management in various fields such as space management, asset management, maintenance and operation, management etc. The building drawings are a manner not conducive to use in spatial information system because graphic data do not have topology and not link to text describe their properties as spatial data and attribute data. This objective research is study at data conversion guideline of building drawings used for Building Information System. Beginning the study of research with surveys minimum data needs of Building Information for plan drawing, electrical drawing and plumbing drawing. Reviews drawing standards for designing basic data model of building information, sets drawing guidelines and develop command tools on AutoCAD program. The results of research testing about command tools is that can used for a new drawing or revise an old drawing, the drawing data can export to ArcView program with completely data model as designed. Finally, in case of new drawing, command tools can reduce the time of drawing compared with non-use command tools to average 48.55% per 1 floor of building drawings.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.760-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการอาคารen_US
dc.subjectอาคาร -- การเขียนแบบen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการen_US
dc.subjectBuilding managementen_US
dc.subjectBuildings -- Drawingen_US
dc.subjectManagement information systemsen_US
dc.titleการแปลงข้อมูลแบบอาคารเพื่อการพัฒนาสารสนเทศอาคารen_US
dc.title.alternativeConversion of building drawing for building information developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVichai.Y@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.760-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thodsaporn_pr.pdf3.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.