Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36797
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรกานต์ เมืองนาโพธิ์
dc.contributor.advisorอดุลย์ เปรมประเสริฐ
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ ยีหวังเจริญ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2013-12-04T15:23:13Z
dc.date.available2013-12-04T15:23:13Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.isbn9740311911
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36797
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของโทโคเฟอรอลในผลิตภัณฑ์พลอยได้จากอุตสาหกรรมน้ำมันถั่วเหลือง การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการศึกษาถึงอิทธิพลของอัตราการป้อนไอน้ำต่อการระเหยโทโคเฟอรอลสู่เฟสไอ ในถาดกำจัดกลิ่นที่ตำแหน่ง mamomoth (50 – 76 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) และที่ตำแหน่ง coil (20 – 40 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า เมื่อเพิ่มอัตราการป้อนไอน้ำที่ตำแหน่ง mammoth และตำแหน่ง coil ร้อยละของโทโคเฟอรอลที่ระเหยออกมาจะมีค่าเพิ่มขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม ที่อัตราการป้อนไอน้ำมากกว่า 70 กิโลกรัมต่อชั่วโมงที่ตำแหน่ง mommoth และมากกว่า 30 กิโลกรัมต่อชั่วโมงที่ตำแหน่ง coil จะให้ผลในทางตรงกันข้าม ดังนั้นสภาวะที่เหมาะสมที่ให้ค่าระเหยโทโคเฟอรอลสูงสุดจากน้ำมันถั่วเหลืองที่อยู่ในถาดกำจัดกลิ่น คือที่อัตราการป้อนไอน้ำที่ตำแหน่ง mammoth 70 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และ 30 กิโลกรัมต่อชั่วโมงที่ตำแหน่ง coil ร้อยละการระเหยของโทโคเฟอรอล และกรดไขมันอิสระเท่ากับ 27.54 และ 75.23 ตามลำดับ การศึกษาในส่วนที่สอง เป็นการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการดักจับโทโคเฟอรอลในเฟสไอด้วย soybean deodorizer distillate (SDD) ในหอแพคดักจับสารระเหยปัจจัยที่ศึกษาคือ อัตราการไหลหมุนเวียน และอุณหภูมิของ SDD พบว่า ปริมาณ SDD เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มของอัตราการไหล และมีปริมาณ SDD เพิ่มขึ้นเมื่อลดอุณหภูมิลง เมื่อพิจารณาถึงเวลาที่ใช้ในการหมุนเวียน ความเข้มข้นของโทโคเฟอรอลเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ ตามเวลา จนเข้าใกล้ค่าคงที่ที่ประมาณ 48 – 72 ชั่วโมง การดักจับโทโคเฟอรอลสูงสุดต่อรอบ (0.0213% ต่อรอบ) อยู่ทีอัตราการไหลหมุนเวียน 7000 กิโลกรัมต่อชั่วโมงและที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เนื่องจากข้อกำหนดของปริมาณโทโคเฟอรอลใน SDD (6% ขึ้นไป) จึงเลือกสภาวะที่อัตราการไหลหมุนเวียน 9000 กิโลกรัมต่อชั่วโมง อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ที่สภาวะนี้ความเข้มข้นของโทโคเฟอรอลใน SDD มีเท่ากับ 8.11% โดยน้ำหนักที่เวลาหมุนเวียน 72 ชั่วโมง
dc.description.abstractalternativeThis research is to study how to enchance tocopherol concentration in by-product from soybean oil industries. The study consisted of two parts. The first part covered the influence of steam flow rate in deodorizing tray at the position of mammoth (50 – 76 kg/h) and of coil (20 – 40 kg/h) on tocopherol evaporation to vapor phase. The experimental results showed that with the increasing of steam flowrate at mammoth and coil position, the percentage of tocopherol evaporation was increased. However, the exceeding steam flowrate of 70 kg/h at mamomoth and of 30 kg/h at coil would give the opposite results. Therefore, the suitable condition at the highest tocopherol evaporation from soybean oil in deodorizing tray to vapor phase was as follows : steam flowrate at mammoth of 70 kg/h and of 30 kg/h at coil position. Percentage of tocopherol and free fatty acid evaporation were of 27.54 and 75.23 respectively. Within the second part, various factors affecting the absorption of tocopherol from vapor phase to soybean deodorizer distillate (SDD) in vapor scrubber were investigated. Those factors were recirculation rate and temperature of SDD. It was found that the amount of SDD increased with the increasing of recirculation rate and with the decreasing of temperature. Regarding to the recirculation time, tocopherol concentrations were slowly increased and reached to be nearly constant around 48 -72 hours. The highest tocopherol absorption per round (0.0213 percent per round) was at 7000 kg/h and at 60. ℃ Due to specification of tocopherol content in SDD (6% up), the preferable condition of 9000 kg/h and 60 ℃ was selected. Under this condition, 8.11 % (w/w) of tocopherol in SDD was obtained in 72 hours.
dc.language.isothen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเพิ่มโทโคฟอรอลในผลิตภัณฑ์พลอยได้จากอุตสาหกรรมน้ำมันถั่วเหลืองen_US
dc.title.alternativeToocopherol Enhancement in By-product from Soybean Oil Industriesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panuwat_ye_front.pdf4.65 MBAdobe PDFView/Open
Panuwat_ye_ch1.pdf4.56 MBAdobe PDFView/Open
Panuwat_ye_ch2.pdf6.19 MBAdobe PDFView/Open
Panuwat_ye_ch3.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Panuwat_ye_ch4.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open
Panuwat_ye_ch5.pdf10.9 MBAdobe PDFView/Open
Panuwat_ye_back.pdf15.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.