Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37097
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ | - |
dc.contributor.author | เดชชาติ ลิ่มกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคกลาง) | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2013-12-07T09:06:02Z | - |
dc.date.available | 2013-12-07T09:06:02Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37097 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en_US |
dc.description.abstract | ชุมชนเมืองในกรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนที่แทรกอยู่ในพื้นที่ศูนย์กลางเมืองหรือเมืองชั้นใน ส่วนใหญ่จะมีความแออัดหนาแน่นและมักมีข้อจำกัดในการขยายตัว ขาดพื้นที่สำหรับรองรับกิจกรรมสาธารณะต่างๆ อย่างเพียงพอโดยเฉพาะกิจกรรมกีฬา ซึ่งควรมีตามมาตรฐานขั้นต่ำที่รัฐควรตอบสนองต่อประชากร ชุมชนเมืองถึงแม้จะมีความแออัดหนาแน่นของสิ่งปลูกสร้าง แต่พบว่ามีบริเวณที่ถูกทิ้งให้ว่างเปล่า หรือพัฒนาได้ไม่เต็มศักยภาพแทรกตัวอยู่ทั่วไป จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า มีเกณฑ์การเลือกพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬา คือ ข้อกฎหมาย ลักษณะสัณฐาน และตำแหน่งที่ตั้ง และเกณฑ์ในการเลือกกิจกรรมกีฬา คือ ประเภทชุมชน กลุ่มประชากร และกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพ และข้อจำกัดในการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬา จากการศึกษาพบว่า พื้นที่เพื่อกิจกรรมกีฬาในชุมชนใต้จุดตัดทางด่วนศรีรัชและทางด่วนเฉลิมมหานคร มีพื้นที่กีฬาไม่เพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งที่ภายในตัวพื้นที่ศึกษามีพื้นที่ว่างหลายแห่ง มีความเหมาะสมที่ตามเกณฑ์การเลือกพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬา และมีศักยภาพสามารถรองรับรูปแบบกิจกรรมกีฬาและรูปแบบกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันได้ โดยการแบ่งช่วงเวลาการเข้าใช้พื้นที่ เมื่อประมวลผลและวิเคราะห์การพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยนำมาทฤษฎีแหล่งกลาง (central place theory) เข้ามาใช้ในการวิเคราะห์ ได้ข้อเสนอแนวทางการวางแผนพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬา เป็นแผนและผังการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬา แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ปัจจุบัน และอนาคต สุดท้ายได้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬาในชุมชนเมือง ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่อื่นๆ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Urban communities in Bangkok integrate within its central or inner urban area. Most of them are densely built up and difficult to expand, lacking of areas to support public activities especially sport areas. These areas should meet the minimum standard the government provides for the public in general. Although urban communities are densely built up, they still accommodate a lot of vacant spaces. According to the literature review, the guidelines for selecting public spaces for sport areas include land use regulations, morphological properties, location while the guidelines for selecting the sport activity types are community types, population and land use activities. This is to analyze the potentials and set back of the sport area development. The study shows that there is not enough sport areas to accommodate the case study area although most of its abundant vacant spaces are rather suitable to develop as sport areas by managing their times of use. The synthesis and analysis shows that the Central Place theory can be applied by proposing the renewal plans for the area at present and in the future and proposes a development process that could be applied to other similar cases. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.796 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ชุมชน -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | พื้นที่โล่ง | en_US |
dc.subject | กีฬา -- แง่สังคม -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | Communities -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Open spaces | en_US |
dc.subject | Sports -- Social aspects -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.title | การพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬาในชุมชนเมือง กรณีศึกษา การพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬาในชุมชนเมือง กรณีศึกษาชุมชนใต้จุดตัดทางด่วนศรีรัชและทางด่วนเฉลิมมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Development of sport activity areas in urban community a case study of the communities underneath Srirat and Chalerm Mahanakhon Expressway intersection | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การวางแผนภาคและเมือง | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Khaisri.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.796 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
deatchat_li.pdf | 7.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.