Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorลำยอง ดวงคำ, 2517--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคเหนือ)-
dc.date.accessioned2007-07-20T07:20:21Z-
dc.date.available2007-07-20T07:20:21Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743338683-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3739-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์ กับการนำมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนของอาจารย์วิทยาลัยเอกชนในภาคเหนือ (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของรายการที่ชมกับการนำมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนของอาจารย์วิทยาลัยเอกชนในภาคเหนือ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการสอนและคณะที่สังกัด กับการนำเอาเนื่อหาสาระของรายการโทรทัศน์มาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนของอาจารย์วิทยาลัยเอกชนในภาคเหนือ (4) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่สามารถอธิบายการนำเนื้อหาสาระจากรายการโทรทัศน์ที่ชมมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนได้มากที่สุด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา คือ อาจารย์คนไทยทุกคนที่ทำหน้าที่สอน ณ วิทยาลัยโยนก จังหวัดลำปาง จำนวนทั้งสิ้น 76 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว t-test และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ประมวลผลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์ มีความสัมพันธ์กับระดับการนำเนื้อหาสาระจากรายการโทรทัศน์มาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน 2. พฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์แต่ละประเภท มีความสัมพันธ์กับระดับการนำมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน 3. อาจารย์ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการสอนและคณะที่สังกัดแตกต่างกัน มีการนำเนื้อหาสาระของรายการโทรทัศน์มาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนไม่แตกต่างกัน 4. พฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์ประเภทข่าว สามารถนำมาอธิบายการนำเนื้อหาสาระจากรายการโทรทัศน์มาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนได้มากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were : (1) to study the relationship between television exposure and the uses of television for teaching of private colleges' faculties. (2) to study the relationship between the exposure to television programs and the uses of television for teaching. (3) to study the relationship between sex, age, education, teaching experience, faculty and the uses of television programs for teaching. (4) to investigate the factor which could explain the uses of television program for teaching most. The samples were 76 Thai teachers of Yonok College, Lampang province. Questionnaires were used to collect the data. Frequency, percentage, mean, Pearson's Product Moment Correlation Coefficient, t-test, ANOVA and multiple regression analysis were employed for the analysis of the data. SPSS for Windows was used for data processing. The results of the study were as follows; 1. Television exposure correlated with the uses of television programs for teaching. 2. Exposure to television programs correlated with the uses of television for teaching. 3. Teachers different in sex, age, education, teaching experience and faculty used television programs for teaching indifferently. 4. The factor which could explain the uses of television programs for teaching most was the exposure to news programen
dc.format.extent8682698 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.298-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรายการโทรทัศน์en
dc.subjectการสอนen
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- ไทย (ภาคเหนือ) -- อาจารย์en
dc.titleพฤติกรรมการชมรายการโทรทัศน์กับการนำมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนของอาจารย์วิทยาลัยเอกชนในภาคเหนือen
dc.title.alternativeTelevision exposure and the uses of television for teaching of private colleges' facultiesen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParama.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.298-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
lamyong.pdf6.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.