Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37581
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุลยพงศ์ วงศ์แสวง-
dc.contributor.advisorกนกพร บุญศิริชัย-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ ชูแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-20T06:59:36Z-
dc.date.available2013-12-20T06:59:36Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37581-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractศึกษาผลของอะลูมิเนียมต่อการเจริญเติบโตของข้าว (Oryza sativa L.) พันธุ์ กข31 ในระยะต้นกล้าและชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ด้วยรังสีเพื่อคัดเลือกต้นข้าวที่ทนอะลูมิเนียม ปลูกต้นกล้าในสารละลายธาตุอาหารที่เติมอะลูมิเนียมความเข้มข้น 0 - 100 mg/l ในรูปของ AlCl3 ที่ pH 3.9 พบว่าอะลูมิเนียมแสดงผลเด่นชัดในราก อะลูมิเนียม 25 mg/l มีผลกระตุ้นความยาวราก แต่ที่ 50 – 100 mg/l มีผลยับยั้งความยาวราก จึงใช้อะลูมิเนียมที่ความเข้มข้น 50 และ 100 mg/l ในการคัดเลือกต้นข้าวที่ทนอะลูมิเนียม ฉายรังสีแกมมา 0, 35 และ 50 Gy แก่แคลลัสจากคัพภะข้าว แล้วย้ายเลี้ยงในอาหารเหลวที่มีอะลูมิเนียมเป็นเวลา 10 วัน ก่อนชักนำให้เป็นต้น พบว่าเมื่อปริมาณรังสีและอะลูมิเนียมเพิ่มขึ้น เปอร์เซ็นต์แคลลัสตายจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่เปอร์เซ็นต์แคลลัสที่ไม่มีการพัฒนา แคลลัสที่พัฒนาเป็นราก และแคลลัสที่เกิดกลุ่มเซลล์สีเขียวลดลง เมื่อย้ายแคลลัสลงอาหารใหม่ พบว่าแคลลัส ที่ฉายรังสี 35 Gy ในอาหารที่เติมอะลูมิเนียม 50 mg/l สามารถพัฒนาเป็นต้นได้ จึงนำออกปลูกเพื่อทดสอบความทนต่ออะลูมิเนียมต่อไป และได้ศึกษาการแสดงออกของยีน SR (sulphur reductase) และ LRR (leucien rich repeat) ในตัวอย่างแคลลัสข้าวที่ใช้คัดเลือกข้าวทนอะลูมิเนียม พบว่ายีน SR มีการแสดงออกที่ลดลงเมื่อปริมาณรังสีและความเข้มข้นของอะลูมิเนียมเพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe effects of aluminum (Al) on the growth of rice seedlings (Oryza sativa L.) were studied, and radiation-induced Al-tolerant mutants were screened. RD31 rice seedlings were grown in the nutrient solution with 0 - 100 mg/l Al supplemented as AlCl3 at pH 3.9. Al effects on growth were most prominent in the roots. 25 mg/l Al stimulated root elongation, while 50 – 100 mg/l Al inhibited it. 50 and 100 mg/l Al were chosen for the Al-tolerance screen. Embryogenic calli were gamma irradiated at 0, 35 and 50 Gy and were exposed to the Al stress at pH 3.9 for 10 days prior to plantlet regeneration. The percentage of senesced calli increased with the increasing gamma-ray dose and Al stress, while the percentage of white calli, roots and green-spots calli decreased. A green plantlet was obtained from 35 Gy irradiated calli with 50 mg/l Al treatment; it will be further tested for Al tolerance. Gene expression studies among embryogenic calli indicated a reduction in the expression of SR gene encoding sulphur reductase, with the increasing gamma-ray dose and Al stress.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1152-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรังสีแกมมาen_US
dc.subjectอะลูมินัมen_US
dc.subjectข้าว -- การเจริญเติบโตen_US
dc.subjectแคลลัส (พฤกษศาสตร์)en_US
dc.subjectGamma raysen_US
dc.subjectAluminumen_US
dc.subjectRice -- Growthen_US
dc.subjectCallus (Botany)en_US
dc.titleการคัดเลือกข้าว (Oryza Sativa L.) ให้ทนต่ออะลูมิเนียมโดยการฉายแคลลัสจากเมล็ดข้าวด้วยรังสีแกมมาen_US
dc.title.alternativeSelection of rice (Oryza Sativa L.) for aluminium tolerance by gamma irradiation of embryogenic callus.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordoonyapo@berkeley.edu-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1152-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirilak_ch.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.