Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประหยัด หงษ์ทองคำ-
dc.contributor.authorเกษม พึ่งธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2014-01-08T12:14:35Z-
dc.date.available2014-01-08T12:14:35Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746356283-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37860-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหา อุปสรรค และความแตกต่างในการบริหารงานของสุขาภิบาลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อแสวงหาแนวทางปรับปรุงรูปแบบกาบริหารงานสุขภิบาลแบบใหม่ที่มีความสอดคล้องกับหลักการปกครองท้องถิ่น และมีความสัมพันธ์กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อกำหนดหน้าที่ในการบริหารงานสุขาภิบาลให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันให้มากที่สุด โดยผู้ศึกษาได้กำหนดขอบเขตของการศึกษาวิจัยไว้ โดยศึกษาถึงสุขาภิบาลตาม พ.ร.บ. 2495 และ 2528 ซึ่งเป็นองค์การปกครองท้องถิ่นในรูปคณะกรรมการว่ามีอุปสรรค ปัญหาประการใด และมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติหน้าที่อย่างไร ผู้ศึกษาได้กำหนดสมมติฐานในการศึกษาวิจัย คือ โครงสร้างของสุขาภิบาลปัจจุบันขัดแย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และไม่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการบริหาร ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การปกครองท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาล ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเองน้อย ซึ่งเป็นปัญหาอุปสรรคในการบริหารงานของสุขภิบาลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนั้น จึงควรมีการปรับปรุงโครงสร้างการจัดองค์การสุขาภิบาลรูปแบบคณะกรรมการให้เป็นโครงสร้างที่มีฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารที่ชัดเจนที่สุด เพื่อถ่วงดุลย์อำนาจในการบริหาร ซึ่งหมายถึงการยกฐานะสุขาภิบาลให้เป็นเทศลบาล เพื่อให้การบริหารงานของสุขาภิบาลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้น และเพื่อให้มีความสอดคล้องกับหลักการปกครองท้องถิ่นและมีความสัมพันธ์กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-
dc.description.abstractalternativeThis research is conducted to study problem and obstacle of sanitary district up to present time. The information collected would be helpful to find the way to reform the sanitary district in the future along the line specified by the constitution. The research is based on the sanitary district laws of 1952 and 1985 together with interviews with those who are in charge of the sanitary districts. The findings are that up to now lacal people are only mininally involued in the affairs of the sanitary districts the development of the sanitary distrlct. Should follow that of the municipality which will take into cousicleration of local people.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleโครงสร้างของการปกครองท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาลในอนาคตen_US
dc.title.alternativeA structure of a future model of sanitary districten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kasame_ph_front.pdf6.49 MBAdobe PDFView/Open
Kasame_ph_ch1.pdf6.96 MBAdobe PDFView/Open
Kasame_ph_ch2.pdf32.58 MBAdobe PDFView/Open
Kasame_ph_ch3.pdf54.52 MBAdobe PDFView/Open
Kasame_ph_ch4.pdf57.87 MBAdobe PDFView/Open
Kasame_ph_ch5.pdf9.84 MBAdobe PDFView/Open
Kasame_ph_back.pdf61.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.