Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระ เหมืองสิน-
dc.contributor.authorธีรยุทธ โกสินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-01-19T02:20:01Z-
dc.date.available2014-01-19T02:20:01Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38336-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractเว็บเซอร์วิสใช้เอกสารดับเบิลยูเอ็สดีแอลเพื่ออธิบายบริการ ส่งผลให้การใช้งานบริการจำนวนมากทำได้ยาก เนื่องจากต้องจัดการกับเอกสารอธิบายบริการและทำความเข้าใจถึงวิธีการใช้งานของแต่ละเมท็อด การโปรแกรมเว็บที่ต้องใช้ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นอีกส่วนหนึ่งของชั้นเก็บข้อมูลของเว็บเซอร์วิส นักพัฒนาจะใช้การเขียนคำสั่งเอ็สคิวแอลโดยตรงเพื่อเข้าถึงข้อมูล ทำให้เกิดความไม่สะดวกหากนักพัฒนาไม่ทราบวิธีการสร้างคำสั่งเอ็สคิวแอล ด้วยปัญหาร่วมกันในการใช้งานเว็บเซอร์วิสและฐานข้อมูลที่คล้ายกันคือ ขาดวิธีการนำเสนอข้อมูลที่ดีและการเข้าถึงข้อมูลทำได้ยาก ทำให้เกิดแนวคิดการโปรแกรมเว็บด้วยตารางร่วม ซึ่งจะนำเสนอบริการในรูปแบบ “ตาราง” ทำให้เกิดมุมมองที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจของผู้ร้องขอบริการ และมีชุดคำสั่งเพียงหนึ่งชุดที่แยกการเข้าถึงบริการและข้อมูลในบริการออกจากกัน ตารางร่วมจะใช้โครงสร้างพื้นฐานในการดำเนินงานเช่นเดียวกับเว็บเซอร์วิส ดังนั้นการใช้งานจึงครอบคลุมไปถึงการปฏิบัติงานระหว่างเว็บเซอร์วิส และมีส่วนขยายสำหรับการใช้งานระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ระยะไกลโดยไม่จำเป็นต้องติดตั้งส่วนติดต่อฐานข้อมูลฝั่งผู้ใช้en_US
dc.description.abstractalternativeWeb services use WSDL documents for describing services. Because developers have to manage the WSDL and interpret how to use the methods of services, it is hard to invoke the various services. In the meantime, web programming with relational database systems is a part of the data storage layer of the service. Developers will use SQL instructions to access data stored on the database directly. Some other problems similar to the ones mentioned above are the lack of easy data representation and the difficulty to access data. The concept of “shared tables” is to propose the data representation in a tabular form, and to the users’ perspectives, this concept is easy to understand. Each shared table has a single set of instructions which is separated between the methods of service and the data of service. Moreover, the infrastructure of the shared tables is similar to typical web services. Therefore, using the shared tables covers the interactions among standard web services. Also, the shared tables have the specifications of remote access to relational databases without the driver installation requirement on the client.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.937-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเว็บเซอร์วิสen_US
dc.subjectฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์en_US
dc.subjectการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectWeb servicesen_US
dc.subjectRelational databasesen_US
dc.subjectComputer programmingen_US
dc.titleการโปรแกรมเว็บด้วยตารางร่วมen_US
dc.title.alternativeWeb programming with shared tablesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorveera.m@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.937-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Theerayooth_ko.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.