Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์-
dc.contributor.authorกรรณิการ์ พรจิตรสุวรรณ, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-24T07:12:10Z-
dc.date.available2007-08-24T07:12:10Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743472665-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3851-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาที่ใช้จัดอันดับที่เหมาะสมสำหรับสถาบันราชภัฏ และเพื่อเปรียบเทียบผลการจัดอันดับคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏที่ได้จากการใช้เทคนิคการจัดอันดับแบบ CRPS ของ SRS กับเทคนิคการจัดอันดับแบบทั่วไป โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 18 ท่าน ในการพิจารณาความเหมาะสม และน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ข้อมูลที่ใช้ในการจัดอันดับคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏได้มาจากสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติบรรยาย สำหรับการพิจารณาความเหมาะสม และน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ สำหรับการให้คะแนนและการจัดอันดับใช้เทคนิคการจัดอันดับแบบ CRPS ของ SRS และเทคนิคการจัดอันดับแบบทั่วไป ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้: 1. ตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสมมี 6 องค์ประกอบ และ 21 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย องค์ประกอบด้านอาจารย์มี 6 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบด้านกิจการนักศึกษามี 2 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบด้านหลักสูตรมี 1 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบด้านการเงินและงบประมาณมี 2 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบด้านการวิจัยมี 2 ตัวบ่งชี้ และองค์ประกอบด้านแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้มี 8 ตัวบ่งชี้ ส่วนองค์ประกอบด้านนักศึกษานั้นไม่มีตัวบ่งชี้ตัวใดเลยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือก 2. ผลการจัดอันดับคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ ทั้งที่ใช้เทคนิคการจัดอันดับแบบ CRPS ของ SRS และเทคนิคการจัดอันดับแบบทั่วไป ต่างให้ผลการจัดอันดับที่เหมือนกันen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study education quality indicators for ranking Rajabhat Institutions and to compare results of ranking for education quality in Rajabhat Institutions by rankings methods between CRPS method and general ranking method. The samples are 18 experts from Rajabhat Institutions. Data for ranking came from the Office of Rajabhat Institutes Council. The obtained data were analyzed by descriptive statistics. CRPS method and general ranking method were applied to rank education quality in Rajabhat Institutions. The research findings were as follows: 1. Ranking indicators for education quality in Rajabhat Institution, consisted of 6 factors with 21 indicators as follows: 6 indicators of faculty factor, 2 indicators of student affair factor, 1 indicator of curricurum factor, 2 indicators of finance and budget factor, 2 indicators of research factor and 8 indicators of learning resources. 2. Result of ranking for education quality in Rajabhat Institutions by ranking between CRPS method and general ranking method were the sameen
dc.format.extent1183535 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.466-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถาบันราชภัฏen
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาen
dc.subjectตัวบ่งชี้ทางการศึกษาen
dc.titleการจัดอันดับคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏen
dc.title.alternativeRanking for education quality in Rajabhat Institutionsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineสถิติการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomwung.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.466-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kannikar.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.