Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงแก้ว ปุณยกนก-
dc.contributor.authorนันทินี ภุมรินทร์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-19T09:04:20Z-
dc.date.available2006-06-19T09:04:20Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741756607-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/388-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้รวมที่เหมาะสมสำหรับการประเมินการทำงานกลุ่มของนักเรียนตามกลุ่มกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 7 กลุ่ม คือ กลุ่มบูรณาการ กลุ่มกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่มกิจกรรมนันทนาการ กลุ่มกิจกรรมเทคโนโลยี กลุ่มกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาความรู้ กลุ่มกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม กลุ่มกิจกรรมจากหลักสูตรท้องถิ่น 10 ฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครู และนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในปีการศึกษา 2546 กลุ่มตัวอย่างครูเท่ากับ 350 คน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนเท่ากับ 435 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเพื่อประเมินการทำงานกลุ่มของนักเรียน จำนวน 2 ชุด โดยแบ่งเป็นชุดสำหรับครู และชุดสำหรับนักเรียน ซึ่งมีเนื้อหาและจำนวนข้อคำถาม 51 ข้อ เหมือนกัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC[superscript +] และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมลิสเรล 8.52 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่ามัชฌิมเลขคณิตของกลุ่มตัวอย่างครูและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลการพัฒนาตัวบ่งชี้รวมที่เหมาะสมสำหรับการประเมินการทำงานกลุ่มของนักเรียน จากการรวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างครูและนักเรียน และจากการแยกกกลุ่มตัวอย่างออกเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างครู และกลุ่มตัวอย่างนักเรียน ได้ตัวบ่งชี้ทั้งหมด 20 ตัวบ่งชี้ 3. โมเดลตัวบ่งชี้รวมที่เหมาะสมสำหรับการประเมินการทำงานกลุ่มของนักเรียน จากการรวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม คือกลุ่มตัวอย่างครูและนักเรียน และจากการแยกกลุ่มตัวอย่างออกเป็น สองกลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างครู และกลุ่มตัวอย่างนักเรียน มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี มีค่าไค-สแควร์เท่ากับ 105.12, 105.08 และ 125.51 ตามลำดับ ที่องศาอิสระเท่ากับ 110, 110 และ 131 ตามลำดับ ค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ .61374, .61478 และ .61891 ตามลำดับ ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนมีค่าเท่ากับ .99, .97 และ .97 ตามลำดับ ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว มีค่าเท่ากับ .97, .94 และ .95 ตามลำดับ และดัชนีรากของกำลังสองเฉลี่ยของเศษเท่ากับ .055, .088 และ .069 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop the composite indicators of students' group task assessment on seven groups of organizing child centered learning process. There were Integration Group, Field Study Group, Recreation Group, Technology Group, Knowledge Development and Promotion Group, Merit and Morality Promotion Group and Local Curriculum Study Group. The sample consisted of 350 teachers and 435 students of matthayom one to three under the Office of Basic Educational Commission. Data were collected by two questionnaires of students' group task assessment for teachers and students; both of which consisted of 51 items. Data were analyzed by descriptive statistics through SPSS/PC[superscript +] and confirmatory factor analysis through LISREL 8.52. Major result of the study were as follow : 1. The arithmetic means of the teachers sample and the students sample were not significantly different at of .05 statistical level 2. The developed composite indicator of students' group task assessment from two sample, the teachers sample and the students sample consisted of 20 indicators. 3. The structural equation model of students' group task assessment was strongly consistent with data from sample. This model provide the chi-square statistics of 105.12, 105.08 and 125.51. The degrees of freedom of 110, 110 and 131. The probability of .61374, .61478 and .61891. The goodness of fit index of .99, .97 and .97. The adjusted goodness fit index of .97, .94 and .95 and root mean square residual of .055, .088 and .069.en
dc.format.extent1048059 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1310-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตัวบ่งชี้ทางการศึกษาen
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาen
dc.subjectการประเมินen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.subjectลิสเรลโมเดลen
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางen
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้รวมที่เหมาะสมสำหรับการประเมินการทำงานกลุ่มของนักเรียนen
dc.title.alternativeA development of composite indicators appropriate for students' group task assessmenten
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorPuangkaew.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1310-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuntinee.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.