Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorศศิธร ใฝ่สัจจะธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2014-02-21T03:17:34Z-
dc.date.available2014-02-21T03:17:34Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39203-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการศึกษาประสิทธิภาพการดูดดึงแคดเมียมและสังกะสีออกจากดินของหญ้าแฝกสองกลุ่มพันธุ์ คือ แฝกกลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานี และแฝกดอนกลุ่มพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์ ในกระถางที่มีการใส่สารประกอบ Cd(NO)[subscript 3]2.4H[subscript 2]O[subscript 2] ที่ระดับความเข้มข้น 50 100 150 และ 200 mgCd/kg ดิน (น้ำหนักแห้ง) และสารประกอบ Zn(NO[subscript 3])[subscript 2].6H[subscript 2]O ที่ระดับความ เข้มข้น 500 1000 1500 และ 2000 mgZn/kg ดิน (น้ำหนักแห้ง) และมีการเติม EDTA ร่วมด้วย โดยทำการ ทดลองที่ระยะเวลา 15 30 45 60 75 และ 90 วัน จากการศึกษาการเจริญเติบโต โดยการนับจำนวนต้นต่อกอ ความสูง และชั่งน้ำหนักแห้ง พบว่าหญ้าแฝกทั้งสองกลุ่มพันธุ์สามารถเจริญเติบโตได้ดีที่ทุกระดับ ความเข้มข้นและอยู่รอดร้อยละ 100 ของหญ้าแฝกที่ปลูกทั้งหมดในกระถางที่มีการเติมสารประกอบ แคดเมียม สำหรับหญ้าแฝกที่ปลูกในกระถางที่มีการเติมสารประกอบสังกะสีกลับพบว่า หญ้าแฝกทั้งสอง กลุ่มพันธุ์อยู่รอดเพียงร้อยละ 25 ของหญ้าแฝกที่ปลูกทั้งหมด โดยสามารถอยู่รอดได้ที่ระดับความเข้มข้น 500 mgZn/kg ดิน หญ้าแฝกทั้งสองกลุ่มพันธุ์ในกระถางที่มีการเติมแคดเมียมและสังกะสีมีจำนวนต้นต่อกอ ความสูงและน้ำหนักแห้งเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการปลูกที่นานขึ้นและลดลงตามระดับความเข้มข้นของ แคดเมียมและสังกะสีในดินที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยหญ้าแฝกกลุ่มพันธุ์ ประจวบคีรีขันธ์มีความสูงและน้ำหนักแห้งมากกว่ากลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานี ขณะที่หญ้าแฝกกลุ่มพันธุ์ สุราษฎร์ธานีมีความสามารถในด้านการแตกกอมากกว่ากลุ่มพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์ ในการสะสมแคดเมียม และสังกะสีของหญ้าแฝกทั้งสองกลุ่มพันธุ์ พบว่าหญ้าแฝกทั้งสองกลุ่มพันธุ์มีการสะสมแคกเมียมและสังกะสี เพิ่มขึ้นตามระดับความเข้มข้นของแคดเมียมและสังกะสีในดินที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความ เชื่อมั่น 95% โดยมีการสะสมแคดเมียมและสังกะสีไว้ในส่วนรากมากกว่าส่วนใบกับลำต้น โดยกลุ่มพันธุ์ สุราษฎร์ธานีมีการสะสมมากกว่ากลุ่มพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์ และจากการศึกษาประสิทธิภาพการดูดดึง แคดเมียมและสังกะสี คิดเป็นร้อยละเทียบกับปริมาณแคดเมียมและสังกะสีที่ใส่ ลงในดิน พบว่ากลุ่มพันธุ์ สุราษฎร์ธานีมีค่าประสิทธิภาพการดูดดึงสูงสุดที่ระยะเวลา 90 วัน ในกระถางที่มีระดับความเข้มข้นของ แคดเมียมในดิน 50 mgCd/kg ดิน คิดเป็นร้อยละ 4.63 และในกระถางที่มีระดับความเข้มข้นของสังกะสีใน ดิน 500 mgZn/kg ดิน คิดเป็นร้อยละ 1.02 ในขณะที่กลุ่มพันธุ์ ประจวบคีรีขันธ์มีค่าประสิทธิภาพสูงสุดที่ ระยะเวลา 90 วัน ในกระถางที่มีระดับความเข้มข้นของแคดเมียมในดิน 50 mgCd/kg ดิน คิดเป็นร้อยละ 4.10 และในกระถางที่มีระดับความเข้มข้นของสังกะสีในดิน 500 mgZn/kg ดิน คิดเป็นร้อยละ 0.91 ของปริมาณสังกะสีทั้งหมดen_US
dc.description.abstractalternativeEfficiency of cadmium and zinc removal from soil contaminated soil by two ecotypes of vetiver grasses, Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash [Surat Thani ecotype] and Vetiveria nemoralis (Balansa) A.Camus [Prachuabkirikhan ecotype] was studied in difference concentration of cadmium with application Cadmium Nitrate (Cd(NO)[subscript 3]2.4H[subscript 2]O[subscript 2]) at 0 50 100 150 and 200 mgCd/kgsoil ; zinc with Zinc Nitrate (Zn(NO[subscript 3])[subscript 2].6H[subscript 2]O) at 0 500 1,000 1,500 2,000 mgZn/kgsoil and EDTA (Ethylenediaminetatraacetic acid) was applied. The growth rate; number of plants per clump, height and dry weight were recorded every 15 days included 6 times. It was found that both ecotypes of vetiver grasses were ability to normal growth and survived all treatments of cadmium concentration. For the contamination of zinc, both ecotypes of vetiver grasses were ability to survive only 25% in treatment of 500 mgZn/kgSoil. Both ecotypes of vetiver grasses in treatment of cadmium and zinc had number of plants per clump, height and dry weight increased by experimental period and level of cadmium and zinc concentration in soil (p<0.05). In addition, Prachuabkirikhan ecotype had height and dry weight more than Surat Thani ecotype. While, Surat Thani ecotype had number of plants per clump higher than Prachuabkirikhan ecotype. Accumulation of cadmium and zinc of both ecotypes of vetiver grasses increased by level of cadmium and zinc concentration in soil (P<0.05). Accumulation of cadmium and zinc in roots of both ecotypes of vetiver grasses were higher than in shoots. Amount of cadmium and zinc accumulation in Surat Thani ecotype was more than in Prachuabkirikhan ecotype. In addition, cadmium and zinc removal efficiency by both ecotypes of vetiver grasses increased by exposed time at experiment time 90 day. The highest efficiency of Surat Thani ecotype was 4.63% in treatment of 50 mgCd/kgsoil and 1.02% in treatment of 500 mgZn/kg soil while, the highest efficiency of Prachuabkirikhan ecotype was 4.10% in treatment of 50 mgCd/kgsoil and 0.91% in treatment of 500 mgZn/kgsoil respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1331-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหญ้าแฝกen_US
dc.subjectการดูดซับทางเคมีen_US
dc.subjectแคดเมียมen_US
dc.subjectสังกะสีen_US
dc.subjectดินen_US
dc.subjectVertiveren_US
dc.subjectChemisorptionen_US
dc.subjectCadmiumen_US
dc.subjectZincen_US
dc.subjectSoilsen_US
dc.titleประสิทธิภาพของหญ้าแฝกลุ่มและหญ้าแฝกดอนในการดูดดึงแคดเมียมและสังกะสีออกจากดินen_US
dc.title.alternativeEfficiency of Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash and Vetiveria nemoralis (Balansa) A.Camus in cadmium and zinc removal from soilen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThares.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1331-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_Fa.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.