Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3947
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Usa Sangwatanaroj | - |
dc.contributor.author | Theeradol Rungraungkitkrai, 1974- | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Science | - |
dc.date.accessioned | 2007-08-30T10:22:30Z | - |
dc.date.available | 2007-08-30T10:22:30Z | - |
dc.date.issued | 1999 | - |
dc.identifier.isbn | 9743348743 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3947 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1999 | en |
dc.description.abstract | Cotton plain and twill weave fabrics, cotton jersey knits and cotton yarn were treated under enzymatic and conventional preparation processes. Samples desized with amylase enzyme show complete sizes removal. Samples scoured with pectinase enzyme provide good absorbency and obtain lower weight loss than conventional scoured samples. Both scouring methods give almost comparable capability of pectin removal with a little higher efficiency in enzymatic scouring. Plain weave fabric and yarn increase in strength after pectinase scouring while twill weave fabric and jersey knits decrease. Scoured jersey knits lose strength twice higher from conventional scouring than from pectinase scouring. Samples bleached with glucose oxidase enzyme obtain whiteness index nearly 20 degree improvement with 3-13% strength loss. | en |
dc.description.abstractalternative | ผ้าฝ้ายทอลายขัดและทอลายสอง ผ้าฝ้ายถักเจอรี่และด้ายฝ้าย ได้ผ่านกระบวนการเตรียมโดยเอนไซม์และกระบวนการเตรียมที่ใช้อุณหภูมิ ตัวอย่างที่ผ่านการลอกแป้งด้วยเอนไซม์อะมัยเลสแสดงการลอกแป้งออกอย่างสมบูรณ์ ตัวอย่างที่ผ่านการกำจัดสิ่งสกปรกด้วยเอนไซม์เพคติเนสให้ความสามารถในการดูดซึมได้เป็นอย่างดี และมีการสูญเสียน้ำหนักต่ำกว่าตัวอย่างที่ผ่านการกำจัดสิ่งสกปรกด้วยกระบวนการที่ใช้อยู่เดิม การกำจัดสิ่งสกปรกทั้งสองวิธี ให้ความสามารถในการขจัดเพคตินได้ใกล้เคียงกัน โดยที่การกำจัดสิ่งสกปรกด้วยเอนไซม์ให้ประสิทธิภาพสูงกว่าเล็กน้อย ความแข็งแรงของผ้าทอลายขัดและด้ายเพิ่มขึ้นหลังจากการกำจัดสิ่งสกปรกด้วยเพคติเนส ในขณะที่ผ้าทอลายสองและผ้าถักเจอร์ซี่มีความแข็งแรงลดลง ผ้าถักเจอร์ซี่ที่ผ่านการกำจัดสิ่งสกปรกด้วยวิธีที่ใช้อยู่เดิม สูญเสียความแข็งแรงเป็น 2 เท่า ของผ้าที่ผ่านการกำจัดสิ่งสกปรกด้วยเพคติเนส ตัวอย่างที่ผ่านการฟอกด้วยเอนไซม์กลูโคสออกซิเดส มีค่าดัชนีความยาวเพิ่มขึ้นเกือบ 20 โดยที่ความแข็งแรงลดลงประมาณ 3-13 เปอรเซ็นต์ | en |
dc.format.extent | 8353518 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | en |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Glucose oxidase | en |
dc.subject | Textile fabrics | en |
dc.subject | Enzymes | en |
dc.subject | Cotton | en |
dc.subject | Pectinase | en |
dc.title | Applications of enzymes in cotton yarn and fabric preparation processes | en |
dc.title.alternative | การประยุกต์เอนไซม์ในกระบวนการเตรียมด้ายและผ้าฝ้าย | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | Master of Science | en |
dc.degree.level | Master's Degree | en |
dc.degree.discipline | Applied Polymer Science and Textile Technology | en |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | usa@sc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
theeradol.pdf | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.