Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชญา นิติวัฒนานนท์-
dc.contributor.authorสมชาย สวยสอาด, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-13T01:26:51Z-
dc.date.available2007-09-13T01:26:51Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741760388-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4078-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาการทำงานของเครื่องฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนที่อุณหภูมิห้อง โดยท่อไรเซอร์สร้างจากท่อพลาสติกใสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไรเซอร์ 0.05 เมตร สูง 2 เมตร และท่อป้อนกลับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.10 เมตร สูง 1.20 เมตร เพื่อให้เห็นถึงการเคลื่อนตัวของสารป้อนผสม ที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากอัตราการไหลของอากาศ และอัตราการไหลป้อนกลับของของแข็ง ที่มีต่อความดันและความเร็วของอนุภาคที่ตำแหน่งต่างๆ ตามความสูงของไรเซอร์ โดยค่าความดันไปคำนวณหาสัดส่วนของแข็ง และใช้เทคนิคการบันทึกภาพด้วยกล้องความเร็วสูง CCD Camera ร่วมกับการใช้โปรแกรม Image Pro Plus V.4.5.1 เพื่อหาความเร็วของของแข็ง อัตราการไหลของอากาศอยู่ในช่วง 300-500 ลิตรต่อนาที ของแข็งที่นำมาศึกษาคือ ทราย ขี้เลื่อย แกลบ และชานอ้อยที่มีความหนาแน่น 2312, 1583, 1484 และ 630 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ขนาดอนุภาคอยู่ในช่วง 250-425 ไมโครเมตร ความเร็วของสารป้อนผสมและความดันในระบบมีค่าลดลงตามความสูงของไรเซอร์ และบริเวณด้านล่างของไรเซอร์จะมีสัดส่วนของแข็งมากกว่าด้านบน และเมื่อเพิ่มอัตราการไหลของอากาศ สัดส่วนของแข็งจะมีค่าลดลงแต่ความเร็วของอนุภาค จะมีค่าเพิ่มขึ้นและสัดส่วนของแข็งจะสูงขึ้น เมื่ออัตราการไหลป้อนกลับของของแข็งสูงขึ้น การกระจายตัวของของแข็งตลอดไรเซอร์ของสารป้อนผสมระหว่างทรายกับขี้เลื่อย มีค่าสูงกว่าสารป้อนผสมระหว่างทรายกับแกลบ ที่ตำแหน่งความสูงเดียวกันความเร็วของทราย จะมีค่าต่ำกว่าความเร็วของสารป้อนผสมระหว่างทรายกับชีวมวล และความเร็วของสารป้อนผสมระหว่างทรายกับขี้เลื่อยมีค่าสูงที่สุดen
dc.description.abstractalternativeAn experimental study of hydrodynamics of mixed feed in a circulating fluidized bed was carried out in a cold flow plexiglas reactor. Tests were conducted in a circulating fluidized bed riser having a diameter of 5 cm. and 2.0 m. height and downcomer with a diameter of 0.10 m. and 1.2 m. height. Four solids (sand, sawdust, rice husk and bagasse) were selected in this experiment. The average particle sizes were 250-425 micrometre. The particle densities were of 2312, 1583, 1484 and 630 kg/qb.m., respectively. The effect of air flow rate on particle velocity and pressure in CFB riser were studied. The range of air flow rate was 300-500 l/min. The pressure data obtained from the experiment can be used for determining the voidage in riser column. A CCD camera with Image Pro Plus V4.5.1 program was used to find the particle velocity. It was found that particle velocity and pressure decreased along the riser at constant air flow rate. At the same position, the particle velocity increased with the increasing of air flow rate whereas voidage decreased so that the particle at the lower part was denser than the upper part. It can be seen that an increased solid circulation fluxes results in an increase in the solid holdup. The solid hold up along the riser of sand/saw dust mixer was higher than sand/rice husk mixer, when superficial gas velocity is fixed. In addition, sand velocity was lower than mixer velocity and sand/saw dust mixer velocity was highesten
dc.format.extent9666469 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟลูอิไดเซชันen
dc.subjectชีวมวลen
dc.titleอุทกพลศาสตร์ของสารป้อนผสมในเครื่องฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนen
dc.title.alternativeHydrodynamics of mixed feed in circulating fluidized beden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsuchaya@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchai.pdf5.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.