Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล รอดคำดี-
dc.contributor.authorนพมาศ พุทธรักษา-
dc.contributor.authorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2014-03-18T04:53:16Z-
dc.date.available2014-03-18T04:53:16Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743325395-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการเข้าสู่การเป็นผู้จัดรายการวิเคราะห์ข่าวโทรทัศน์ของนักวิชาการและปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงบทบาทของนักวิชาการในการทำหน้าที่จัดรายการวิเคราะห์ข่าวโทรทัศน์โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ และเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักวิชาการ 7 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการเข้าสู่การเป็นผู้จัดรายการวิเคราะห์ข่าวโทรทัศน์ของนักวิชาการ ประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ 1. เข้ามาเป็นผู้จัดรายการโดยตรง 2. เริ่มต้นเป็นผู้ดำเนินรายการแล้วเปลี่ยนเป็นผู้จัดรายการ 3. เริ่มเป็นวิทยากร ต่อมาเป็นผู้ดำเนินรายการ แล้วเปลี่ยนเป็นผู้จัดรายการ โดยเหตุผลของการเข้าสู่การเป็นผู้จัดรายการประกอบด้วย 1. ความรับผิดชอบในการบริการวิชาการแก่สังคม 2. นโยบายขององค์กรสื่อมวลชนต้องการให้เกิดรายการที่มีคุณค่าแก่มวลชน 3. ทัศนคติที่ดีในการทำหน้าที่นักสื่อสารมวลชน 4. เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มของสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมได้ลึกซึ้ง ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงบทบาทของนักวิชาการในการ ทำหน้าที่จัดรายการวิเคราะห์ข่าวโทรทัศน์ประกอบด้วย 1. ใช้ความรู้หรือทฤษฎีทางวิชาการที่ศึกษา ค้นคว้า วิจัย มาวิเคราะห์สถานการณ์ข่าวสารของโลกปัจจุบัน 2. มีความสามารถในการถ่ายทอดข่าวสารผ่านสื่อมวลชน 3. มีคณะทำงานช่วยผลิตรายการ 4. มีความเข้าใจในหลักการทำงานด้านข่าวen_US
dc.description.abstractalternativeThe proposes of this qualitative research was to investigate the process of becomming TV news analysts of academicians. Seven academicians were purposively selected for depth interviews during October-December 1998. The findings of this study was as follows: There were 3 processes of becoming TV news analysts of academicians, 1) being a program director since the beginning 2) being a moderator first and then turn to be a program director 3) started from being a guest speaker and after that a moderator, finally a program director. The reasons of becoming TV news analysts were ; 1) academic service responsibility. 2) Mass communication organization policy ; need to create valuable program for TV audience. 3) good attitude for performing as a mass communicator, 4) being an expert, able to deeply analyze situations and trends in society. Furthermore, factors effecting the academicians role as the news analysts were ; 1) Application of knowledge or theories to analyze news and current affairs. 2) Ability to communicate through mass media. 3) Having a supporting team for program production. 4) Understanding the principle of news coverage and presentation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectTelevision broadcasting of newsen_US
dc.subjectCommunicationen_US
dc.subjectScholarsen_US
dc.subjectข่าวโทรทัศน์en_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectนักจัดรายการโทรทัศน์en_US
dc.subjectนักวิชาการen_US
dc.titleกระบวนการเข้าสู่การเป็นผู้จัดรายการวิเคราะห์ข่าวโทรทัศน์ของนักวิชาการen_US
dc.title.alternativeThe process of becoming TV news analysts of academiciansen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJoompol.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nopamas_Pu_front.pdf447.93 kBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_ch1.pdf270.92 kBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_ch2.pdf386.98 kBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_ch3.pdf202.76 kBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_ch4.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_ch5.pdf605.3 kBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_ch6.pdf186.04 kBAdobe PDFView/Open
Nopamas_Pu_back.pdf433.72 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.