Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกาย-
dc.contributor.authorพชรรัตน์ เวสสวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-03-19T09:32:17Z-
dc.date.available2014-03-19T09:32:17Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741417675-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41362-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเข้าใจถึงลักษณะการมีส่วนร่วมของผู้ชมรายการ รวมทั้งปัจจัยที่ทำให้ผู้ชมเกิดพฤติกรรมการเข้ามีส่วนร่วมกับรายการ “คนค้นฅน” และเพื่อเข้าใจถึงการรับรู้ความหมายของผู้ชมที่มีต่อรายการ “คนค้นฅน” ภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฎีการประกอบสร้าง แนวคิดรายการโทรทัศน์ตามจริง แนวคิดละครเร้าอารมณ์ แนวคิดการสื่อสารแบบการมีส่วนร่วม ทฤษฎีการตัดสินสังคมและพันธะผูกพัน และแนวคิดการเข้าใจผู้อื่นตามสภาพของผู้นั้น ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของผู้ชมรายการสารคดี “คนค้นฅน” นั้น มีลักษณะการมีส่วนร่วมของผู้ชมรายการแบ่งได้ 8 ระดับ คือ 1.การมีส่วนร่วมรับชมรายการเท่านั้น 2.การร่วมรับชมรายการแล้วร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมกิจกรรมกับทางรายการ 4.การร่วมรับชมรายการและร่วมกิจกรรมกับทางรายการ 5.การร่วมรับชมรายการและร่วมบริจาค 6.การร่วมรับชมรายการแล้วร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมบริจาค 7.การร่วมรับชมรายการแล้วร่วมกิจกรรมและร่วมบริจาค 8.การร่วมรับชมรายการแล้วร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมกิจกรรมและร่วมบริจาค สำหรับปัจจัยที่ทำให้ผู้ชมมีส่วนร่วมกับทางรายการพบว่า การนำเสนอแนวละครเร้าอารมณ์และประสบการณ์ส่วนตัวของผู้ชมรายการ รวมถึงการตอบสนองของผู้ผลิตรายการที่มีต่อผู้รับชมรายการนั้น ส่งผลให้ผู้ชมรายการมีส่วนร่วมต่อรายการในระดับที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้พบว่า การรับรู้ความหมายของผู้ชมรายการสารคดี “คนค้นฅน” ที่มีระดับการมีส่วนร่วมบริจาค ซึ่งถือเป็นระดับสูงสุดนั้น ผู้ชมรายการจะมีลักษณะเกิดความคลั่งไคล้ตราตรึงต่อรายการ-
dc.description.abstractalternativeThe qualitative research aims to understand the participation of the audiences in television documentary “KONKONKON”. It is analyzed on the basis of the conceptual frameworks of Constructivism, Reality TV, Melodrama, Participation Communication, Social Judgement-Involvement and Empathy. The research shows that the participation of the audiences can be divided into 8 catagories : 1. The audience who just watches the program 2. The audience who watches and comments on the program. 3. The audience who watches, gives the opinions and the participates in the program. 4. The audience who watches and participates in the program activities. 5.The audience who watches and makes the donation. 6. The audience who watches, provides some comments and donates. 7. The audience who watches, participates in the program activities and makes the donations. 8. The audience who watches, gives the opinions, participates in the program activities and makes the donations.-
dc.language.isothen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1318-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของผู้ชมรายการสารคดี "คนค้นคน"en_US
dc.title.alternativeAudience participation in documentary "KonKonKon"en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1318-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Petcharat_ve_front.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_ch1.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_ch2.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_ch3.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_ch4.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_ch5.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_ch6.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ve_back.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.