Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวรรณ ปิลันธน์โอวาท-
dc.contributor.authorเพชรรัชต์ กันยาบาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-03-19T10:37:46Z-
dc.date.available2014-03-19T10:37:46Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41443-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง วาทกรรมวิเคราะห์เปรียบเทียบคณะรสช.ปี 2534 และ คปค.ปี 2549 เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบปฏิบัติการทางสังคม และวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดวาทกรรมในช่วงปฏิวัติของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ปี2534 และ คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ปี2549 รวมถึงเพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบวาทกรรมเพื่อการโน้มน้าวใจของผู้นำคณะปฏิวัติและคณะปฏิวัติทั้งสอง โดยแบ่งเป็น 4 คู่เหตุการณ์ ดังนี้ 1.สาเหตุของการปฏิวัติและวันปฏิวัติ 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบทรัพย์สิน 3. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และนายกรัฐมนตรีที่มาจากการแต่งตั้ง 4. ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับประชาชนและการสืบต่ออำนาจ ผลการวิจัยโดยสรุปพบว่า วาทกรรมของทั้งสองคณะเกิดขึ้นภายใต้ปฏิบัติการทางสังคม และวัฒนธรรมที่คล้ายกันแต่ไม่เหมือนกัน กล่าวคือท่ามกลางสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมืองและสังคมของชาติ ดังนั้นวาทกรรมของทั้งสองคณะแม้ว่าจะมีรูปแบบและตัวบทที่แตกต่างกันออกไปตามแต่สถานการณ์ แต่ยังคงอยู่ภายใต้กรอบวาทกรรมใหญ่ที่คล้ายกันคือ การสร้างวาทกรรมความดีให้กับฝ่ายตน และสร้างวาทกรรมตอกย้ำความผิดพลาดให้กับฝ่ายรัฐบาลเก่า-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this qualitative research on comparative analysis of discursive practices between the 1991 National Peace Keeping Council and the 2006 Council of Democratic Reform of the Constitutional Monarchy are to do comparative analysis on enforcements during the coup period which brought upon the discursive practices as well as intensive observation of the two council’s leaders and their teams which concentrated on 4 main relevant events. 1. The cause of the Coup as well as timeline of the Coup day 2. Selection of the Board of property inspection 3. New government Constitutional Law and Prime Minister by appointment or by selection 4. Contradiction between the Thai government and the citizens as well as the inherit of power The research came out with a conclusion that the discursive practices of the two Councils took place under a similar circumstances but somewhat different in certain criteria. Therefore, the discourse of the two Councils were different regarding to the situation, but nevertheless, shared the same scope which was to intensify the goodness of oneself and the badness of the opponent, moreover downplaying the badness of oneself while submerging the goodness of the opponent.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleวาทกรรมวิเคราะห์เปรียบเทียบคณะรสช. ปี 2534 และ คณะคปค. ปี 2549en_US
dc.title.alternativeComparative analysis of discursive practices between the 1991 national peace keeping council and the 2006 council of democratic reform of the constitutional monarchyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวาทวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Petcharat_ka_front.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ka_ch1.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ka_ch2.pdf5.44 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ka_ch3.pdf774.46 kBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ka_ch4.pdf12.37 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ka_ch5.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open
Petcharat_ka_back.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.