Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจามรี อาระยานิมิตสกุล
dc.contributor.authorพงศธร เบญจเลิศยานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-19T11:21:24Z
dc.date.available2014-03-19T11:21:24Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41514
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractเนื่องจากการตั้งถิ่นฐานเดิมในอดีตมีการตั้งถิ่นฐานอยู่บนพื้นที่ราบ เมื่อเมืองมีการขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นทำให้พื้นที่เกษตรกรรมน้อยลง ที่ราบเกิดความหนาแน่น ซึ่งมีแนวโน้มในการขึ้นสู่พื้นที่ลาดชัน ทำให้ผู้ศึกษาเกิดความสนใจในการเข้าใช้พื้นที่ลาดชัน เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านภูมิประเทศและการเลือกใช้แหล่งทรัพยากรที่ยังคงความสมบูรณ์ มีความสวยงาม และเอกลักษณ์เฉพาะ ที่ต้องมีการวางแผนการใช้พื้นที่อย่างถูกต้อง เพื่ออนุรักษ์พื้นที่เกษตรกรรมและรักษาสภาพพื้นที่ให้เกิดผลกระทบจากการใช้งานน้อยที่สุด ซึ่งมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการออกแบบวางผังบริเวณและภูมิสถาปัตยกรรม การศึกษามุ่งเน้นการสร้างแนวทางเพื่อใช้ในการออกแบบวางผังบริเวณและภูมิสถาปัตยกรรมโดยการรวบรวมทฤษฎีและหลักการที่มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการออกแบบวางผังบริเวณตั้งแต่ การเลือกใช้ประโยชน์ที่ดิน การปรับระดับ การสัญจร การระบายน้ำ รวมถึงการออกแบบภูมิทัศน์ที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้พืชพันธุ์เพื่อให้เกิดความสวยงาม วัสดุ และทำการวิเคราะห์แยกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ลาดชัน ซึ่งจะทำให้ทราบถึงข้อจำกัดของกิจกรรมกับความลาดชันต่างๆ และความเสียหายที่เกิดขึ้นสรุปเป็นข้อพิจารณาและแนวคิดตามประเด็นของการออกแบบวางผังบริเวณและภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้น รวมถึงการรวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา ทั้งในด้านกายภาพ ด้านสุนทรียภาพ ด้านนิเวศวิทยาและปัญหาที่เกิดกับมนุษย์และชุมชน และวิธีป้องกันความเสียหายด้วยการ ใช้โครงสร้าง ใช้พืชพันธุ์ และแบบผสมผสานโครงสร้างกับพืชพันธุ์ เพื่อใช้ในการพิจารณาความเหมาะสมกับลักษณะพื้นที่ลาดชัน นำมาสรุปและวิเคราะห์ร่วมกับกรณีศึกษา ซึ่งจะทำให้ได้แนวทางสำหรับการออกแบบวางผังบริเวณ นำเสนอเป็นรูปแบบประยุกต์ บ่งชี้ปัจจัยในการแก้ปัญหาเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบ เพื่อลดผลกระทบ เพื่อแก้ไขผลกระทบ การชดเชยเนื่องจากเกิดผลกระทบ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อไปสำหรับหน่วยงานทั้งราชการและเอกชน ผู้เกี่ยวข้องและผู้สนใจต่อไป
dc.description.abstractalternativeIn the past, settlements were made on plains. Later, because of urban expansion, the plains became denser and agricultural areas shrank, leading to relocation to steep slope areas. Their utilization is an issue of concern as those areas frequently pose geographical challenges to dwellers. Moreover, often still rich in natural resources, those uniquely beautiful spots require a well-established area usage plan so agricultural zones can be preserved and the conditions of non-agricultural lands can be protected from the impacts of use. These are directly related to site planning and landscape architecture. This study focuses on developing guidelines on the site planning and landscape architecture of steep slope areas. The research procedures began with a data collection on theories and principles related to site planning management, ranging from area utilization selection, land surfacing, traveling, and drainage systems to landscape design involving the aesthetic arrangement of green areas. Then, the data were analyzed so the limitations of site planning and landscape architecture application for developing steep slope areas as well as its possible damage to the nature could be identified. After that, the resulting data were synthesized into area development guidelines and points of consideration. Also addressed was how site planning and landscape architecture might cause physical, aesthetic and ecological problems, including problems to human beings and the community. Next, prevention of such damage and problems by the structural or vegetation methods or a combination of both was developed. Finally, applied guidelines on site planning were advanced and the methods to avoid, reduce and compensate for the detrimental impacts of site planning were also identified. The findings of this research would benefit public and private agencies as well as concerned parties and interested persons.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.117-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleแนวทางการออกแบบผังบริเวณและภูมิสถาปัตยกรรมสำหรับพื้นที่ลาดชันen_US
dc.title.alternativeDesign guidelines for site planning and landscape architecture of stepp slope areasen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.117-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phongsatorn_be_front.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_ch1.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_ch2.pdf6.35 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_ch3.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_ch4.pdf6.71 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_ch5.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_ch6.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open
Phongsatorn_be_back.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.