Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ
dc.contributor.authorเกศรา บูรพาเดชะ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-23T04:12:44Z
dc.date.available2014-03-23T04:12:44Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.isbn9741426453
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41607
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในชุมชน เพื่อหาวิธีการ สื่อสาร และรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสื่อสารที่ใช้ในการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงชุมชน ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคลด้วยคำถามแบบกึ่งมีโครงสร้าง โดยเก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง 4 กลุ่มคือ 1.) กลุ่มผู้นำการดำเนินการโครงการเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน 2.) กลุ่มผู้นำ ชุมชนทั้งผู้นำแบบเป็นทางการและผู้นำชุมชนแบบไม่เป็นทางการ 3.) กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกในชุมชน และ 4.) กลุ่มสื่อมวลชนที่ทำข่าวเกี่ยวกับโครงการเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งหมด 40 ราย ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกในชุมชนมีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ อย่างทั่วถึงโดยผ่านสื่อ ท้องถิ่นประจำชุมชน ได้แก่ หอกระจายข่าว เสียงตามสาย และสื่อบุคคล คือผู้นำชุมชนที่มีความใกล้ชิดและ สามารถเข้าถึงสมาชิกในชุมชนได้สะดวก การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์โครงการฯ ที่กลุ่มผู้ดำเนินการ โครงการในชุมชนใช้ คือ การเน้นสัญลักษณ์ ได้แก่ ใช้ความเป็นโครงการในพระราชดำริ ชักจูงใจ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ เป็นการแสดงความจงรักภักดีด้วยการปฏิบัติตามพระราชดำริ และเมื่อ เข้าร่วมโครงการแล้ว จะได้รับการจัดสรรที่ดินทำกิน แต่ปัญหาที่พบในการเผยแพร่แนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง คือ การที่สมาชิกชุมชนบางคนยังคงยึดติดกับค่านิยมทางวัตถุในลัทธิทุนนิยม ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษานี้ คือ ควรให้สื่อมวลชนเข้ามามีบทบาทในการรณรงค์ เผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์โครงการมากกว่าที่เป็นอยู่นี้ เพื่อให้ข่าวสารสามารถแพร่กระจายได้ทั่วถึงสาธารณชนมาก ขึ้น อันจะทำให้ได้รับความสนับสนุนจากสังคมได้ง่ายขึ้น อีกทั้งภาครัฐควรต้องมีการจัดหน่วยงาน ประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่เดินทางไปจัดการอภิปรายเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง กระจายไปตามท้องถิ่น ต่างๆ ให้ประชาชนเข้าใจความหมายอย่างแท้จริง รวมทั้งเป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา อาชีพ
dc.description.abstractalternativeThe objective of this qualitative study was to investigate the pattern and process of participatory communication of the community in The Royal Development Projects of His Majesty The King on Sufficiency Economy. The 40 key informants were classified into 4 target groups as follows: 1.) Those responsible for community development project. 2.) The formal and informal community leaders. 3.) Community members. 4.) Mass Media people who reported about this Royal Development Projects. The results of indepth interview are as follows: Most of the respondents received the project information through local media such as village broadcasting systems, community wireless system as well as local leaders and change agents. The strategy to communicate and induce community participation is to emphasize the awareness that this project belongs to His Majesty the King. The research results advice that the community more co-ordinate with mass media in news reporting and the government should provide mobile public relations unit for dissemination on the phylosophy of sufficiency economy to make better understanding on the application of the phylosophy to the career development.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.587-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตาม โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวen_US
dc.title.alternativeParticipatory communication in the community learning center with the royal development projects of his majesty the King on sufficiency economyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.587-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kessara_bu_front.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Kessara_bu_ch1.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Kessara_bu_ch2.pdf5.88 MBAdobe PDFView/Open
Kessara_bu_ch3.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
Kessara_bu_ch4.pdf8.24 MBAdobe PDFView/Open
Kessara_bu_ch5.pdf6.46 MBAdobe PDFView/Open
Kessara_bu_back.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.