Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41921
Title: Formulation of O/W Emulsions containing Rice Bran Oil from Various production methods and Evaluation of free radical Scavenging activity
Other Titles: การพัฒนาตำรับอิมัลชันชนิดน้ำมันในน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวที่ได้จากกรรมวิธีการผลิตต่างๆและการประเมินฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูลอิสระ
Authors: Rattanachot Mongkollikit
Advisors: Ubonthip Nimmannit
Walapa Tatong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Parmaceutical Science
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purposes of this study were to report the production methods of rice bran oil (RBO) that influence free radical scavenging activity, amount of γ-oryzanol and vitamin E. Also, to study the formulation of o/w emulsions from different RBO produced from 5 methods which are called as solvent extraction RBO (SE-RBO), bleached-solvent RBO (BSE-RBO), cold-pressed RBO (CP-RBO), bleached cold-pressed RBO (BCP-RBO) and refined RBO (RE-RBO), The free radical scavenging activity (IC50) of these RBOs were ranked from the highest to lowest, as follows: SE-RBO (IC50 = 2.23±0.22 mg/mL), CP-RBO (IC50 = 2.29±0.04 mg/mL), BSE-RBO (IC50 = 2.46±0.21 mg/mL), BCP-RBO (IC50 = 2.59±0.14 mg/mL) and RE-RBO (IC50 = 4.53±0.12 mg/mL). There were not significantly different between SE-RBO, BSE-RBO, CP-RBO, BCP-RBO (P>0.05) except RE-RBO which was significantly lower (P<0.05) in term of DPPH scavenging activity. The γ-oryzanol content were ranked from the highest to the lowest as follow: SE-RBO (14614.37±70.69 ppm), CP-RBO (13917.92±115.44 ppm), BSE-RBO (13199.41±120.57 ppm), BCP-RBO (12855.82±77.02 ppm), and RE-RBO (3487.03±100.02 ppm). The γ-oryzanol content for the different production methods were significantly different (P<0.05). Moreover, the amount of vitamin E for the processing of RBO showed that CP-RBO (527.83±0.26 ppm) had the highest vitamin E content follow by SE-RBO (442.83±0.23 ppm), BCP-RBO (357.57±0.38 ppm), BSE-RBO (350.94±0.38 ppm) and the RE-RBO (170.56±0.31 ppm) had the lowest vitamin E content. The estimated oxidative stability can be ranked from the lowest to highest as follows: BSE-RBO (0.48±0.97 h), BCP-RBO (2.86±0.16 h), RE-RBO (3.69±0.05 h), CP-RBO (9.39±1.07 h) and SE-RBO (9.93±0.21 h). In addition, O/W emulsions containing different RBO were formulated. All various RBO emulsions were approximately in acceptable range of skin pH (5-6). RE-RBO gave the most ‘satisfy’ with its color and spreadability. CP-RBO gave the most ‘satisfy’ with skin feel and BCP-RBO gave the most ‘satisfy’ with odor and smooth cream mass. On the other hand, SE-RBO gave the least score in all categories. Moreover, all formulations showed good physical stability after 6 cycles of temperature cycling.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ข้อมูลให้ข้อมูลเกี่ยวกับฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูลอิสระ ปริมาณแกมมาโอไรซานอลและวิตามินอี ของน้ำมันรำข้าวที่ได้จากกรรมวิธีการผลิตต่าง ๆ และการพัฒนาตำรับอิมัลชัลชนิดน้ำมันในน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวที่ได้จากการผลิตต่าง ๆ จากการศึกษาน้ำมันรำข้าวที่ผลิตจากกรรมวิธีที่ต่างกัน 5 ชนิดได้แก่ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัด (SE-RBO) น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสี (BSE-RBO) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็น (CP-RBO) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสี (BCP-RBO) และ น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ (RE-RBO) ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ (IC50) เรียงลำดับจากมากสุดไปน้อยสุดได้ดังนี้ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัด (IC50 = 2.23±0.22 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็น (IC50 = 2.29±0.04 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสี (IC50 = 2.46±0.21 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสี (IC50 = 2.59±0.14 mg/mL) น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ (IC50 = 4.53±0.12 mg/mL) ซึ่งทุกตัวไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยกเว้นน้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ ที่ต่างจากน้ำมันรำข้าวชนิดอื่นที่กล่าวข้างต้นอย่างมีนัยสำคัญ การศึกษาปริมาณแกมมาโอไรซานอลเรียงลำดับจากมากสุดไปน้อยสุดพบว่าน้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดมีปริมาณแกมมาโอไรซานอลสูงที่สุดในปริมาณ 14614.37±70.69 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นพบในปริมาณ 13917.92±115.44 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสีพบในปริมาณ 13199.41±120.57 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสีพบในปริมาณ 12855.82±77.02 ppm และ น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวีทำให้บริสุทธิ์พบในปริมาณ 3487.03±100.02 ppm ส่วนปริมาณวิตามินอีเรียงลำดับจากมากสุดไปน้อยสุดพบว่าน้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็นมีปริมาณมากที่สุดในปริมาณ 527.83±0.26 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดพบในปริมาณ 442.83±0.23 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสีพบใน ปริมาณ 357.57±0.38 ppm น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสีพบในปริมาณ 350.94 ppm และ น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีให้บริสุทธิ์พบในปริมาณ 170.56±0.31 ppm ส่วนการศึกษาความคงตัวต่อการเกิดออกซิเดชัน พบว่ากรรมวิธีการผลิตที่ต่างกันทำให้ความคงตัวต่อการเกิดออกซิเดชันต่างกันเรียงลำดับจากน้อยไปมากดังนี้ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดและผ่านกระบวนการฟอกสี (0.48±0.07 h) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสี (2.86±0.16 h) น้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ (3.69±0.05 h) น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็น (9.39±1.07 h) และ น้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัด (9.93±0.21 h) และ ในการพัฒนาตำรับของอิมัลชันชนิดน้ำมันในน้ำที่ pH 5-6 พบว่าน้ำมันรำข้าวที่ผ่านกรรมวิธีทำให้บริสุทธิ์ ได้รับความพึงพอใจในเรื่องสีและการกระจายตัวของครีม น้ำมันรำข้าวที่ใช้วิธีการบีบเย็นได้รับความพึงพอใจในด้านความนุ่มของครีมเมื่อทาบนผิวหนัง น้ำมันรำข้าวที่ใช้วีการบีบเย็นและผ่านกระบวนการฟอกสีได้รับความพึงพอใจในด้านกลิ่นและความเนียนของเนื้อครีม แต่ในน้ำมันรำข้าวที่ใช้ตัวทำละลายในการสกัดพบว่าได้รับความพึงพอใจน้อยที่สุดในทุกการประเมิน ความคงตัวของอิมัลชันที่มีส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวต่างชนิดกันพบว่ามีความคงตัวดีทางกายภาพ หลังจากผ่านการทดสอบด้วยสภาวะเร่ง (temperature cycling) จำนวน 6 รอบ
Description: Thesis (M.Sc. in Pharm)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Pharmaceutical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41921
Type: Thesis
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattanachot_mo_front.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open
Rattanachot_mo_ch1.pdf809.81 kBAdobe PDFView/Open
Rattanachot_mo_ch2.pdf4.79 MBAdobe PDFView/Open
Rattanachot_mo_ch3.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
Rattanachot_mo_ch4.pdf4.87 MBAdobe PDFView/Open
Rattanachot_mo_ch5.pdf950.39 kBAdobe PDFView/Open
Rattanachot_mo_back.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.