Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตวีร์ คล้ายสังข์-
dc.contributor.authorประภารัช ทิพย์สงเคราะห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-05-12T14:44:47Z-
dc.date.available2014-05-12T14:44:47Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42337-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างนักเรียนที่เรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ กับนักเรียนที่เรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่ไม่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ และเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ จำนวน 60 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองซึ่งเรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมซึ่งเรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่ไม่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ จำนวน 30 คน เครื่องมือในการทดลอง คือ เว็บเควสท์ 2.0 ที่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการและที่ไม่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ และแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ใช้เวลาในการทดลอง 12 คาบ รวม 6 สัปดาห์ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินผลงานการเขียนเชิงสร้างสรรค์ และแบบสังเกตพฤติกรรมการสร้างสรรค์ ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ มีความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ในรายวิชาภาษาไทย แตกต่างกับนักเรียนที่เรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่ไม่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 ที่มีการเสริมศักยภาพด้านกระบวนการ มีความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ในรายวิชาภาษาไทย ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractalternativeTo study the creative writing ability of tenth grade students who learned through WebQuest 2.0 with procedural scaffolding compared with another group who learned through Webquest 2.0 without procedural scaffolding before, during, and after the research. The sample consisted of sixty students in the tenth grade at Sacred Heart Convent School. They were divided equally into two groups: an experimental group and a control group. The experimental instruments consisted of WebQuest 2.0 with procedural scaffolding and WebQuest 2.0 without procedural scaffolding. The duration of the experiment was twelve periods over a span of six weeks. The data collection instruments included a creative writing ability evaluation rubric and a creative writing ability observation form. The research results were as follows: 1. The students in the experimental group and control group showed a statistical difference at the 0.05 level of significance in regards to their creative writing ability. 2. The students in the experimental group had a statistical difference in their creative writing ability before, during, and after the experiment at the 0.05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.res.2012.55-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectภาษาไทย -- การเขียนen_US
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้en_US
dc.subjectเว็บ 2.0en_US
dc.subjectThai language -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.subjectThai language -- Writingen_US
dc.subjectEducational technologyen_US
dc.subjectActivity programs in educationen_US
dc.subjectInquiry-based learningen_US
dc.subjectWeb 2.0en_US
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้เว็บเควสท์ 2.0 และการเสริมศักยภาพทางการเรียน ที่เน้นกระบวนการที่มีต่อความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeEffects of Thai learning management using WebQuest 2.0 with procedural scaffolding upon creative writing ability of tenth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjintavee.m@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.res.2012.55-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
praparat_th.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.