Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์-
dc.contributor.advisorกิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา-
dc.contributor.authorสิทธิชัย สาเอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2014-06-05T07:51:29Z-
dc.date.available2014-06-05T07:51:29Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42347-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractศึกษาการใช้คำกริยาเคลื่อนที่แสดงการบ่งชี้ของคนอึมปีในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งการใช้คำกริยาดังกล่าวที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับความหมายประจำคำ รวมถึงศึกษาระบบการบ่งชี้สถานที่ในภาษาอึมปีทั้งระบบ นอกจากนี้ผู้วิจัยยังศึกษาระบบการพรรณนาสถานที่ในภาษาอึมปีด้วย ทั้งนี้เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างระบบการพรรรณนาสถานที่ และระบบการบ่งชี้สถานที่ในภาษานี้ จากการวิจัยพบว่า ภาษาอึมปีมีการพรรณนาสถานที่ด้วยระบบสัมพันธ์ ระบบแน่นอนและระบบเนื้อใน ซึ่งในระบบแน่นอนนั้นมีการยึดสภาพภูมิประเทศ คือ ระดับพื้นที่สูง-ต่ำ และพบว่าในระบบการบ่งชี้สถานที่ในภาษาอึมปีมีรูปบ่งชี้สถานที่ 2 ประเภท คือ รูปบ่งชี้สถานที่ประเภทหมวดคำคำชี้เฉพาะประเภทต่าง ๆ และหมวดคำคำกริยาเคลื่อนที่แสดงการบ่งชี้ รูปบ่งชี้สถานที่ทั้งสองประเภทดังกล่าวเป็นหน่วยคำอิสระ หมวดคำคำชี้เฉพาะสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ คำคุณศัพท์ชี้เฉพาะ คำสรรพนามชี้เฉพาะ คำกริยาวิเศษณ์ชี้เฉพาะ และคำกริยาวิเศษณ์ชี้เฉพาะบ่งชี้อาการ คำชี้เฉพาะทั้ง 4 ประเภทดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการบ่งชี้ระยะใกล้-ไกล โดยยึดตำแหน่งของผู้พูดและผู้ฟังเป็นจุดอ้างอิง นอกจากนี้ ทั้ง 4 ประเภทยังสามารถบ่งชี้ตำแหน่งใกล้เฉพาะผู้พูดหรือเฉพาะผู้ฟัง และคำกริยาวิเศษณ์ชี้เฉพาะสามารถบ่งชี้บริเวณ หรือจุดของสถานที่ที่ผู้พูดอยู่ได้อีกด้วย คำกริยาเคลื่อนที่แสดงการบ่งชี้ในภาษาอึมปีที่ผู้วิจัยเลือกศึกษา ได้แก่ "ไป-มา" และ "เอาไป-เอามา" นั้น มีทั้งหมด 11 คำ ซึ่งบ่งชี้ทิศทางของการเคลื่อนที่เข้าหา-ออกจากตำแหน่งของผู้พูดและ/หรือผู้ฟังและบ่งชี้ทิศ (เฉพาะทิศตะวันออกและทิศตะวันตก) และระดับพื้นที่สูงหรือต่ำด้วยคำกริยาดังกล่าวสามารถทำหน้าที่เป็นคำกริยาหลักและคำกริยารอง และสามารถใช้ได้ทั้งในสถานการณ์ที่มีการใช้สอดคล้อง และไม่สอดคล้องกับความหมายประจำคำ โดยทั่วๆ ไปพบว่า ในสถานการณ์ที่มีการใช้ไม่สอดคล้องกับความหมายประจำคำนั้น คนอึมปีมักจะเลือกใช้คำกริยาดังกล่าวซึ่งบ่งชี้ทิศตะวันตกและระดับพื้นที่ต่ำมาใช้มากกว่า อย่างไรก็ตามพบว่า ในวัฒนธรรมของคนอึมปีทิศตะวันออกและระดับพื้นที่สูงมีนัยสำคัญทางวัฒนธรรมมากกว่าทิศตะวันตกและระดับพื้นที่ต่ำen_US
dc.description.abstractalternativeInvestigates the usage of Mpi deictic motion verbs in different speech events, both unmarked and marked, as well as spatial deixis system in Mpi. Spatial description in Mpi is also studied so as to find its relationship with spatial deixis in this language. There are three systems in spatial description in Mpi, i.e., relative, absolute and intrinsic. In the absolute one, height is anchored as an essential element. There two types of spatial deictics in Mpi, namely demonstratives and deictic motion verbs. All of them are free morphemes. Four types of denonstratives, i.e., demonstrative adjectives, demonstrative pronouns, demonstrative adverbs and demonstrative adverbs of manner, indicate the proximity and distance of the speaker and/or addressee. In addition, the four types can also indicate the position near the speaker or near the addressee and the demonstrative adverbs can also indicate the area or position only of the speaker. Eleven deictic motion verbs studied, for example, go-come and take-bring, not only indicate the directions of movement, but also cardinal directions (only East and West) and height. These verbs can function as main and subsidiary verbs and can be used in both unmarked and marked situations. In general, it seems that the ones indicating West/low level appear more frequently in marked ones. However, it is argued that in Mpi culture, East and high level are more culturally significant than west and low level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาอึมปี -- ไทย -- แพร่en_US
dc.subjectภาษาถิ่นen_US
dc.subjectภาษาอึมปี -- คำกริยาen_US
dc.subjectบ้านดง (แพร่)en_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectMpi language -- Verben_US
dc.subjectDialectologen_US
dc.subjectBaan Dong (Phrae)en_US
dc.subjectMpi language -- Thailand -- Phraeen_US
dc.titleการพรรณาสถานที่และการบ่งชี้สถานที่ในภาษีอึมปีen_US
dc.title.alternativeSpatial description and spatial deixis in Mpien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKrisadawan.H@Chula.ac.th-
dc.email.advisorKingkarn.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sittichai_Sa_front.pdf820.68 kBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_ch1.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_ch2.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_ch3.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_ch4.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_ch5.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_ch6.pdf954.53 kBAdobe PDFView/Open
Sittichai_Sa_back.pdf824.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.