Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42476
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฐิรวัตร บุญญะฐี | - |
dc.contributor.author | เฉลิมพล วิเศษทุม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-06-23T09:54:58Z | - |
dc.date.available | 2015-06-23T09:54:58Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42476 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าตัวคูณความต้านทานที่ใช้ออกแบบด้วยวิธีตัวคูณความต้านทานและน้ำหนักบรรทุกของการประเมินค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็ม ด้วยวิธีการประเมินค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มด้วยวิธีสถิตยศาสตร์,การทดสอบค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มในสนามด้วยวิธีพลศาสตร์และวิธีการประเมินค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มด้วยสูตรตอกเสาเข็ม 10 สูตร โดยใช้ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มที่ประเมินโดยการทดสอบเสาเข็มในสนามด้วยวิธีสถิตยศาสตร์แล้วแปรผลหาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดด้วยวิธีของ Mazurkiewicz เป็นค่ามาตรฐานในการเปรียบเทียบ การศึกษาดำเนินการโดยการรวบรวมข้อมูลของเสาเข็มตอก จำนวน 45 ต้น ที่มีรายงานการเจาะสำรวจชั้นดิน,รายงานบันทึกการตอกเสาเข็ม,ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มในสนามด้วยวิธีพลศาสตร์และรายงานผลการทดสอบค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มในสนามด้วยวิธีสถิตยศาสตร์ ทำการประเมินค่ากำลังด้วยวิธีข้างต้น นำค่าที่ได้ไปเข้ากระบวนการทางสถิติ หาค่าความสัมพันธ์ต่าง ๆ ด้วยการสร้างสมการเส้นตรงและค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2),ค่าเอนเอียง,ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน เพื่อนำค่าที่ได้จากกระบวนการทางสถิตินี้ ไปแทนค่าในสูตรหาค่าตัวคูณความต้านทาน ที่เสนอโดย AASHTO ผลการศึกษาที่ได้คือ วิธีการประเมินที่มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ สำหรับการออกแบบด้วยวิธี LRFD จะพิจารณาจากวิธีการประเมินที่มีความเที่ยงตรงมากที่สุด จากการกระจายตัวของข้อมูลต่ำ ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนที่ต่ำที่สุด ซึ่งวิธีการประเมินที่ให้ค่าที่ต่ำสุด 3 วิธี แยกตามชนิดดิน คือ ดินเหนียว วิธี Dutch, Modified ENR, Gate ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน เท่ากับ 0.09 , 0.15 และ 0.16 ทราย วิธี Dutch, Gate,Modified ENR ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน เท่ากับ 0.08 , 0.11 , 0.12 ดินทุกชนิด วิธี Dutch, Gate,Modified ENR ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน เท่ากับ 0.10 , 0.16 , 0.17 | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study aims to determine the resistance factor for use to design with Load and Resistance Factor Design method of evaluate pile capacity by static analysis method , Dynamic Pile Load Test and Pile Dynamic Formula 10 formula compare with Static Pile Load Test and interpretation for the maximum load bearing capacity by Mazurkiewicz. A study conducted by collecting data of 45 pile driving and boring log report , pile driving record , value of ultimate pile capacity from Dynamic Pile Load Test and data of Static Pile Load Test . Find a relationship with the linear equation and coefficient of determination. (R2), the bias, standard deviation. To the values of the statistics of this process. To the values in the formula for the multiplier resistance offered by the AASHTO The study is. assessment methods that are appropriate to be applied. For LRFD design methods are based on estimation methods are the most honest. Of the distribution of the data is low. The lowest coefficient of variance. The evaluation method that provides the lowest third method by type of soil , clay is Dutch, Modified ENR, Gate coefficient of variance was 0.09, 0.15 and 0.16 , sand is Dutch , Gate , Modified ENR coefficient of variance of 0.08. , 0.11, 0.12 and all type is Dutch, Gate, Modified ENR coefficient of variance of 0.10, 0.16, 0.17. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.356 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เสาเข็ม | en_US |
dc.subject | ความต้านทานดิน | en_US |
dc.subject | Piling (Civil engineering) | en_US |
dc.subject | Earth resistance (Geophysics) | en_US |
dc.title | ค่าตัวคูณความต้านทานสำหรับการประเมินค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอก | en_US |
dc.title.alternative | Resistance factor for bearing capacity estimation of driven pile | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | tirawat.b@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.356 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chalermpol_vi.pdf | 6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.