Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42611
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวงen_US
dc.contributor.authorพิทยุตม์ พลกายนุวัตรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:02Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:02Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42611
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractผิวทางในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นผิวทางแบบยืดหยุ่น แอสฟัลติกคอนกรีตที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นการผสมร้อนระหว่างแอสฟัลต์ซีเมนต์ AC60/70 กับมวลรวมคละขนาด แต่ในการใช้งานนั้นยังคงพบปัญหาความเสียหายที่ทำให้ถนนชำรุดก่อนเวลาอันควรอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณจราจร น้ำหนักบรรทุก และสภาพภูมิอากาศ ด้วยปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการนำเทคโนโลยีปรับปรุงคุณภาพแอสฟัลติกคอนกรีตมาใช้ในการเพิ่มคุณสมบัติทางวิศวกรรม ซึ่งหนึ่งในวิธีที่นิยมทำกันมากคือ การปรับปรุงแอสฟัลติกคอนกรีตด้วยการผสมวัสดุผสมแทรก ดังนั้นงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำปอร์ตแลนต์ซีเมนต์ และเถ้าลอยมาใช้เป็นวัสดุผสมแทรกในการปรับปรุงคุณภาพของแอสฟัลติกคอนกรีต โดยตัวอย่างแอสฟัลติกคอนกรีตที่ใช้ในการศึกษานี้ใช้ได้จากแอสฟัลต์ 2 ประเภท คือ แอสฟัลต์ซีเมนต์เกรด AC60/70 และแอสฟัลต์ดัดแปลงด้วยโพลิเมอร์มาผสมกับมวลรวมประเภทหินปูน สำหรับการทดสอบเพื่อศึกษาคุณสมบัติทางวิศวกรรมในงานวิจัยนี้ ประกอบไปด้วย การทดสอบมาร์แชลล์ การทดสอบความต้านทานต่อแรงดึงทางอ้อม การทดสอบโมดูลัสคืนตัว และการทดสอบความต้านทานต่อการยุบตัวถาวร โดยทำการทดสอบภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ 25 และ 55 องศาเซลเซียส และภายใต้เงื่อนไขความชื้น ซึ่งจากการทดสอบได้ข้อสรุปว่า ผลการทดสอบมาร์แชลล์แสดงให้เห็นว่าตัวอย่างที่มีส่วนผสมของปอร์ตแลนด์ซีเมนต์สามารถเพิ่มค่าเสถียรภาพของแอสฟัลต์คอนกรีตได้ดีขึ้น การทดสอบความต้านทานต่อแรงดึงทางอ้อมในอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ตัวอย่างที่ผสมวัสดุผสมแทรกไม่มีผลมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่ไม่ผสมวัสดุผสมแทรก แต่เมื่อทำการทดสอบที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส ภายใต้เงื่อนไขแบบแห้งและแบบเปียก ตัวอย่างที่ผสมวัสดุแทรกนั้นมีกำลังสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด สำหรับการทดสอบโมดูลัสคืนตัว ตัวอย่างที่ผสมเถ้าลอยและปอร์ตแลนด์ซีเมนต์จะมีค่าโมดูลัสคืนตัวที่มากขึ้น และสุดท้ายการทดสอบค่าความต้านทานต่อการยุบตัวถาวร พบว่าตัวอย่างที่มีผสมของปอร์ตแลนด์ซีเมนต์มีค่ายุบตัวน้อยกว่าตัวอย่างที่ผสมเถ้าลอยพียงอย่างเดียวในทุกเงื่อนไขการทดสอบen_US
dc.description.abstractalternativeAsphaltic concrete is commonly employed for pavement construction in Thailand. The AC60/70 graded asphalt and aggregate are used to prepare a hot mix asphalt (HMA) mixture. There are several limitations of using AC60/70 for pavement design. Therefore, the development of asphalt technology is required. This research aims to study the effect of filler material on asphaltic concrete performance. In this study, Portland cement and fly ash were selected as filler materials. The AC60/70 and polymer modified asphalt (PMA) were mixed with limestone to prepare the asphaltic concrete specimens. The Mashall design standard tests, the indirect tensile test, the resilient modulus test and the dynamic creep test were preformed in this study. The tests were carried out under 25 and 55°C; and dry and wet conditions, respectively. The testing results implied that the Portland cement could increase the stability of asphaltic concrete specimen. Although the filler materials would not help to improve the indirect tensile strength at 25°C, they could considerably improve the indirect tensile strength at 55°C under both wet and dry conditions. The filler materials could also increase the resilient modulus of asphaltic concrete specimens. The dynamic creep testing results indicated that the Portland cement could reduce the rutting of asphaltic concrete specimens.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.87-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต
dc.subjectพื้นผิววัสดุ (เทคโนโลยี) -- การวิเคราะห์
dc.subjectPavement, Asphalt concrete
dc.subjectSurfaces (Technology) -- Analysis
dc.titleผลกระทบของวัสดุผสมแทรกต่อกำลังของแอสฟัลต์ผสมร้อนen_US
dc.title.alternativeEFFECT OF FILLER MATERIALS ON STRENGTH OF HOT MIX ASPHALTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfceslk@eng.chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.87-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5370561921.pdf5.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.