Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจen_US
dc.contributor.authorกอบโชค คำปวงen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:22Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:22Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42702
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการแปรรูปซังข้าวโพดอิมเพรกเนตด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาแอลคาไลให้เป็นของเหลวด้วย เอทานอลและตัวทำละลายผสมเอทานอลและน้ำที่ภาวะเหนือวิกฤต โดยทำการทดลองในเครื่องปฏิกรณ์ที่ทนอุณหภูมิและความดันสูงแบบแบตช์ ขนาดความจุ 250 มิลลิลิตร เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตน้ำมันชีวภาพให้ได้ปริมาณมากที่สุด โดยศึกษาผลของอุณหภูมิ ตัวทำละลาย ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาและการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิธีเติมโดยตรงและแบบอิมเพรกเนต ต่อร้อยละการเปลี่ยนและผลได้ของน้ำมันชีวภาพ จากกรณีที่ไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในการแปรรูปซังข้าวโพดให้เป็นของเหลวด้วยอัตราส่วนเอทานอลต่อน้ำที่ 5:5 โดยปริมาตร อุณหภูมิ 340 องศาเซลเซียส ความดันไฮโดรเจนเริ่มต้น 4.0 เมกะพาสคัล ได้ร้อยละผลได้น้ำมันสูงสุดคือ 49.0 และร้อยละการเปลี่ยนคือ 93.4 และกรณีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่า กรณีการใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และโซเดียมไฮดรอกไซด์แบบเติมโดยตรงที่ให้ร้อยละผลได้ของน้ำมันชีวภาพ (57.5 และ 56.4 ตามลำดับ) มากกว่ากรณีแบบอิมเพรกเนตด้วยโพแทสเซียม (43.3) และโซเดียม (45.2) สำหรับค่าความร้อนของผลิตภัณฑ์น้ำมันชีวภาพที่ได้จากการใช้แอลคาไลแบบเติมโดยตรง (32.2-35.3 MJ/kg) มีค่าสูงกว่าซังข้าวโพด (19.1 MJ/kg) จากการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของน้ำมันด้วย Gas chromatography/mass spectrometry พบว่ามีองค์ประกอบหลักที่สำคัญคือ อนุพันธ์เอสเตอร์ แอโรแมติกและไซลอกเซนen_US
dc.description.abstractalternativeThe liquefaction of alkali impregnated corncob in supercritical ethanol/water was performed in a 250 mL batch reactor to find the optimum condition for bio-oil production. The effects of temperature, solvent, catalyst amount direct alkali addition and impregnated corncob on conversion and bio-oil yield were investigated. For non-catalytic liquefaction using ethanol/water ratio of 5:5 as a solvent, a maximum oil yield of 49.0% and conversion of 93.4% were obtained at 340 ºC, initial H2 pressure of 4.0 MPa. For catalytic liquefaction with alkali addition compared with impregnated corncob at the same condition, the oil yield of corncob liquefaction with KOH addition (57.5%) and NaOH addition (56.4%) was higher than that of impregnated corncob liquefaction (43.3% and 45.2% for impregnated K and Na, respectively). The bio-oil from liquefaction with direct alkali addition had higher heating value (32.2-35.3 MJ/kg) than the original corncob (19.1 MJ/kg). From Gas chromatography/mass spectrometry analysis of the oil products, the dominant components were found to be esters, aromatics and siloxanes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.172-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแปรรูปผลิตผลเกษตร
dc.subjectก๊าซชีวภาพ
dc.subjectAgricultural processing
dc.subjectBiogas
dc.titleการทำให้เป็นของเหลวของซังข้าวโพดอิมเพรกเนตด้วยแอลคาไลในเอทานอล-น้ำภาวะเหนือวิกฤตen_US
dc.title.alternativeLIQUEFACTION OF ALKALI IMPREGNATED CORNCOB IN SUPERCRITICAL ETHANOL-WATERen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorppattara@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.172-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5571915823.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.