Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPattarasinee Bhattarakosolen_US
dc.contributor.authorKranogwan Krasaesaten_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Scienceen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:23Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:23Z
dc.date.issued2013en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42710
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractPresently, the security of information significantly becomes an important issue for all users over the Internet. Since the single password is insufficient to protect attack from attackers as proved by various researchers, the biometrics has been applied as a new alternative for classifying and identifying users. Keystroke dynamics is a behavioral biometrics with individual characteristic patterns. Meanwhile, each person has a unique typing pattern that might cause from individual skills of typing the keypress. In addition, a research had proved that the eye vision can be counted as a biometric that can identify an individual person with higher accuracy when combining with keystroke dynamics. However, this research has found that the measurement times in the keystroke dynamics mechanism is related to the typing character’s location. Therefore, this research has objective to propose that the vision speed and the location of typing unknown character should be integrated in the authentication mechanism to gain higher accuracy.en_US
dc.description.abstractalternativeปัจจุบันการระบุตัวบุคคลด้วยข้อมูลทางชีวภาพนั้นเป็นเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการรักษาระบบความปลอดภัยของข้อมูลทางคอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่ให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและความแม่นยำสูง อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่การระบุตัวบุคคลด้วยข้อมูลทางชีวภาพนั้นต้องอาศัยอุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมในการรับข้อมูลการระบุตัวบุคคลโดยอาศัยข้อมูลจังหวะในการพิมพ์ของแต่ละคนนั้นเป็นหนึ่งในวิธีในการระบุตัวบุคคลด้วยข้อมูลทางชีวภาพที่ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์พิเศษใดๆ เพิ่มเติมนอกจากแป้นพิมพ์ ดังนั้นเทคโนโลยีจึงมีประโยชน์อย่างมากในการเอามาประยุกต์ใช้กับระบบต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตแต่น่าเสียดายที่ยังมีข้อบกพร่องของการระบุตัวบุคคลโดยใช้ข้อมูลจังหวะในการเคาะพิมพ์ของบุคคลอยู่ เมื่ออารมณ์ของบุคคลนั้นๆ เปลี่ยนไป ผลลัพธ์ที่ได้ก็ไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ดังนั้นความแม่นยำของการระบุตัวบุคคลด้วยข้อมูลจังหวะในการเคาะแป้นพิมพ์นี้สามารถเพิ่มขึ้นได้โดยการประยุกต์รวมใช้กับวิธีการระบุตัวบุคคลด้วยข้อมูลทางชีวภาพอื่นๆ อาทิ การสแกนลายนิ้วมือและม่านตา เป็นต้น แต่การนำเอาวิธีเหล่านี้มารวมกันก็ไม่เหมาะสมนักเนื่องจากเทคนิคเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยอุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมในขั้นตอนการระบุตัวบุคคล ดังนั้นเพื่อเป็นการกำจัดความต้องการเหล่านั้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอการพัฒนาวิธีการระบุตัวบุคคลโดยอาศัยจังหวะในการเคาะแป้นพิมพ์ โดยปรับใช้ร่วมกับความสามารถในการมองเห็นของแต่ละบุคคลเพื่อเพิ่มความแม่นยำในการระบุตัวบุคคล โดยการแก้ปัญหานี้เสนอว่าขั้นตอนการระบุตัวบุคคลด้วยข้อมูลทางชีวภาพนั้นสามารถทำงานได้โดยอาศัยแค่อุปกรณ์ธรรมดาทั่วไปอย่างแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.180-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectBiometric identification
dc.subjectComputers -- Access control
dc.subjectชีวมาตร
dc.subjectคอมพิวเตอร์ -- การควบคุมการเข้าถึง
dc.titleMULTIPLE BIOMETRICS FOR AUTHENTICATION SYSTEM BY EYE VISION WITH KEYSTROKE DYNAMICSen_US
dc.title.alternativeชีวมาตรพหุคูณสำหรับระบบระบุตัวตนโดยการเห็นด้วยตาร่วมกับพลวัตการเคาะแป้นพิมพ์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineComputer Science and Information Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorpattarasinee.b@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.180-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5572601923.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.