Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเนาวนิตย์ สงครามen_US
dc.contributor.authorกุลนารี นิยมไทยen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:21:50Z
dc.date.available2015-06-24T06:21:50Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42843
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของนิสิต นักศึกษา คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ กลุ่มที่เรียนด้วยการเรียนการสอนบนเว็บด้วยสถานการณ์จำลอง แบบปรับเหมาะ และเปรียบเทียบผลของความสามารถในการแก้ปัญหาของนิสิต นักศึกษา คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ก่อนและหลังเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอนบนเว็บด้วยสถานการณ์จำลองแบบปรับเหมาะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ปีการศึกษา 2556 จำนวน 20 คน ซึ่งเรียนด้วยการเรียนการสอนบนเว็บด้วยสถานการณ์จำลองแบบปรับเหมาะ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ การเรียนการสอนบนเว็บด้วยสถานการณ์จำลองแบบปรับเหมาะ แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจหลังเรียน นำผลที่ได้จากการทดลองมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอนบนเว็บด้วยสถานการณ์จำลองแบบปรับเหมาะ มีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were. 1) to study the problem-solving ability of pre-service teachers who learnt using web-based instruction with adaptive simulations and 2) to compare the ability in problem- solving test of pre-service teachers who learnt using web-based instruction with adaptive simulations. The twenty 2nd year undergraduate students at Pibulsongkram Rajabhat University were selected by random sampling for this research. The research instruments were web-based instruction with adaptive simulations, problem-solving ability test and a satisfaction evaluation form. The statistical data utilized in the study comprised arithmetic mean (x), standard deviation (S.D.) and t-test. The research results were as follows: The posttest of problem solving ability of pre-service teachers who learnt using web-based instruction with adaptive simulations were significantly higher than the pretest of problem solving ability at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.340-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บ
dc.subjectการจำลองระบบ
dc.subjectนักศึกษาครู
dc.subjectSimulation methods
dc.subjectStudent teachers
dc.titleผลของการเรียนการสอนบนเว็บด้วยสถานการณ์จำลองแบบปรับเหมาะเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์en_US
dc.title.alternativeTHE EFFECTS OF WEB-BASED INSTRUCTION WITH ADAPTIVE SIMULATIONS TO ENHANCE PROBLEM- SOLVING ABILITY OF PRE-SERVICE TEACHERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornoawanit.s@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.340-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5383308727.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.