Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4284
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chirakarn Muangnapoh | - |
dc.contributor.advisor | Soontorn Stapornkul | - |
dc.contributor.author | Wanwisa Thawisaeng | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2007-10-04T09:17:39Z | - |
dc.date.available | 2007-10-04T09:17:39Z | - |
dc.date.issued | 1999 | - |
dc.identifier.isbn | 9743344578 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4284 | - |
dc.description | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1999 | en |
dc.description.abstract | The extraction equilibrium of synthetic L-lysine and L-lysine from mother liquor were studied at various carriers, D2EHPA, concentration. Each experiment was carried out at room temperature for 48 hours with a stirred speed of 420 rpm. It was found that the distribution coefficient of synthetic L-lysine was greater than that of L-lysine from mother liquor and both values vary with the carrier concentration. The extraction equilibrium constant (Kex) are 5.26x10-4 and 4.72x10-5 dm3/mol for L-lysine in synthetic solution and in mother liquor respectively. It was also found that 1 mole of lys+ reacted with 1.2 and 2 moles of monomeric form of D2EHPA to form complex for L-lysine in synthetic solution and mother liquor, respectively. L-lysine extraction from mother liquor was carried out in batch type facilitated ELM stirred extractor. W/O membrane extraction phase was D2EHPA as carrier, span 80 as surfactant in n-dodecane and HCl solution as stripping phase. The effects of various conditions were investigated. The experimental results showed the optimum conditions for this process to be at pH5, 2n HCl, 1%span 80(v/v), 10%D2EHPA (v/v), volume ratio 1:2, and 360 rpm. And by these optimum conditions, 20% initial extraction of L-lysine from mother liquor was obtained in the first minute. The influence of carrier concentration on the permeation rate can be predicted by the model presented in this study | en |
dc.description.abstractalternative | ทำการศึกษาสมดุลการสกัดของสารละลายแอล-ไลซีนสังเคราะห์และสารละลายแอล-ไลซีนจากสารละลายที่เหลือจากการตกผลึก ในภาวะที่มีความเข้มข้นของสารตัวพา (D2EHPA) แตกต่างกันที่อุณหภูมิห้องและความเร็วรอบในการกวน 420 รอบต่อนาทีเป็นเวลา 48 ชั่วโมง จากผลการทดลองพบว่าค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารละลายแอล-ไลซีนสังเคราะห์มีค่าสูงกว่าของสารละลายที่เหลือจากการตกผลึกและค่าทั้งสองยังแปรผันตามความเข้มข้นของสารตัวพาด้วย ค่าคงที่ในการสกัด (Kex) ของสารละลายแอล-ไลซีนสังเคราะห์และของสารละลายที่เหลือจากการตกผลึกมีค่าเท่ากับ 5.26x10-4 และ 4.72x10-5 ดม3/โมล ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าแอล-ไลซีน (Lys+) 1 โมลจะรวมกับ 1.2 โมล และ 2 โมลของกรดไดเอทีล-เฮกซิลฟอสฟอริกซึ่งอยู่ในรูปของโมโนเมอร์เกิดเป็นสารที่มีโมเลกุลซับซ้อน สำหรับสารละลายแอล-ไลซีนสังเคราะห์และสารละลายที่เหลือจากการตกผลึกตามลำดับ ได้ทำการศึกษาการสกัดแอล-ไลซีนจากสารละลายที่เหลือจากการตกผลึกโดยกระบวนการเยื่อแผ่นเหลวแบบอิมัลชันชนิดอาศัยสารตัวพาแบบไม่ต่อเนื่อง โดยวัฏภาคเยื่อประกอบด้วยกรดไดเอทีล-เฮกซิลฟอสฟอริกเป็นสารตัวพา, สแปน 80 เป็นสารลดแรงตึงผิวซึ่งละลายในตัวทำละลายโดเดเคน และมีสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเป็นวัฏภาคภายใน ได้ทำการศึกษาผลกระทบของภาวะต่างๆ จากผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมในการสกัดคือ ความเป็นกรดด่างของวัฏภาคภายนอกเท่ากับ 5, ความเข้มข้นของวัฏภาคภายในเท่ากับ 2 นอร์มัล, ความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวเท่ากับ 1 เปอร์เซนต์โดยปริมาตร, ความเข้มข้นของสารตัวพาเท่ากับ 10 เปอร์เซนต์โดยปริมาตร, อัตราระหว่างวัฏภาคเยื่อและวัฏภาคภายนอกเท่ากับ 1:2 และความเร็วในการกวนเท่ากับ 360 รอบต่อนาที ที่สภาวะนี้มีค่าเปอร์เซนต์ในการสกัดเริ่มต้นภายในเวลา 1 นาทีเท่ากับ 20 เปอร์เซนต์ นอกจากนี้แบบจำลองที่ใช้ทำนายอิทธิพลของความเข้มข้นของสารตัวพาต่ออัตราการสกัดยังได้แสดงไว้ในงานวิจัยนี้ด้วย | en |
dc.format.extent | 7808831 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | en |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Liquid membranes | en |
dc.subject | Emulsions | en |
dc.subject | Seperation (Technology) | en |
dc.subject | L-lysine | en |
dc.title | L-lysine extraction from mother liquor by emulsion liquid membrane | en |
dc.title.alternative | การสกัดแอล-ไลซีนจากสารละลายที่เหลือจากการตกผลึก โดยกระบวนการเยื่อแผ่นเหลวแบบอิมัลชัน | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | Master of Engineering | en |
dc.degree.level | Master's Degree | en |
dc.degree.discipline | Chemical Engineering | en |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | No information provided | - |
dc.email.advisor | No information provided | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
wanwisa.pdf | 7.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.