Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42882
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิตรา รู้กิจการพานิช | en_US |
dc.contributor.author | ธนัธิดา แก้วหวังสกูล | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:22:11Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:22:11Z | |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42882 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างมาตรการในการลดความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุจากการขนส่งวัตถุอันตรายในบริเวณพื้นที่อ่อนไหว เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์อันตรายและประเมินความเสี่ยงตามแนวทาง MIL-STD 882 ได้คัดเลือกวัตถุอันตรายประเภทที่เป็นไอปกคลุมมีผลต่อสุขภาพที่มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุสูงได้แก่ วัตถุกัดกร่อนและของเหลวไวไฟจำนวน 3 และ 4 รายการ ตามลำดับและได้คัดเลือกเส้นทางหลวงแผ่นดินที่มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุสูง 12 เส้นทาง ทำให้ได้ผลลัพธ์ของระดับความเสี่ยงของเหตุการณ์ทั้งสิ้น 84 เหตุการณ์ ที่ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ 60 เหตุการณ์ ที่ระดับความเสี่ยงสูง 12 เหตุการณ์ และที่ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 12 เหตุการณ์ ขั้นต่อมาใช้เทคนิค FTA ในการวิเคราะห์หาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุเพื่อหาวิธีการลดและควบคุมการเกิดอุบัติเหตุ พบว่าในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้จำเป็นต้องเปลี่ยนให้ใช้แท็งก์หรือภาชนะบรรจุที่ผ่านการตรวจสอบตามมาตรฐานและได้รับการรับรองจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อลดระดับสู่ระดับความเสี่ยงสูง จากนั้นต้องดำเนินตามมาตรการลดความเสี่ยง 2 มาตรการหลักคือ มาตรการด้านการจัดการและวิศวกรรม และมาตรการจัดการกรณีฉุกเฉินเพื่อลดระดับสู่ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ส่วนในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ต้องมีการทบทวนความเสี่ยงใน 2 กลุ่มคือ การตรวจตรา และการอบรม เพื่อคงระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องในมาตรการนี้คือ ผู้ขนส่ง ผู้ขับขี่ และผู้ครอบครองวัตถุอันตราย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to establish the risk measurement for reducing the accident in the transport on road in sensitive areas. This research began with analyze hazard and risk analysis by using method MIL-STD 882. The hazardous substances that had high accidents on roads were selected for this research. These substances were toxic. They could be change to a type of vapor cloud when they were leaked and could be effected to health. Three corrosive substances and four flammable liquid substances were selected. The twelve highways that had high accidents were selected. Identify for this this study shown 84 risk levels with 60 unacceptable levels, 12 undesirable levels and 12 acceptable levels. Fault Tree Analysis (FTA) were used for analyze causes of risk for reducing and controlling the accident. The results of this research shown the unacceptable level needed to be change tank or packaging verify by Department of Industrial Works for reduced to undesirable levels. There were two measures to reduce accident measure for Engineering Management and measure for Emergency response to lower down to acceptable levels. For acceptable risk levels, the risk shall be reviewed in two categories , monitoring and training. This will maintain the acceptable risk levels for transporters, drivers and holders hazardous substances. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.316 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุบัติเหตุ -- การป้องกัน | |
dc.subject | วัตถุอันตราย | |
dc.subject | การขนส่งทางบก | |
dc.subject | การขนส่ง -- มาตรการความปลอดภัย | |
dc.subject | Accidents -- Prevention | |
dc.subject | Hazardous substances | |
dc.subject | Transportation, Automotive | |
dc.subject | Transportation -- Safety measures | |
dc.title | การสร้างมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุจากการขนส่งวัตถุอันตรายในบริเวณพื้นที่อ่อนไหว | en_US |
dc.title.alternative | ESTABLISHING OF MEASURES TO REDUCE THE RISK OF ACCIDENTS DUE TO TRANSPORT HAZARDOUS SUBSTANCES IN SENSITIVE AREAS | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | mr_chukiat@yahoo.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.316 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5470221621.pdf | 7.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.