Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวานen_US
dc.contributor.authorอุษา ประสิทธิ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:25Z
dc.date.available2015-06-24T06:22:25Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42907
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractปัจจุบันมีผู้ประกอบการเพิ่มเข้ามาในโครงการนมโรงเรียนมากขึ้นแต่ด้วยปริมาณความต้องการในการบริโภคนมเท่าเดิม จำนวนสิทธิการจำหน่ายที่ผู้ประกอบการแต่ละรายได้รับไม่สอดคล้องกับกำลังการผลิตที่มีอยู่ ผู้ประกอบการเกิดความเสียหาย เกณฑ์ในการจัดสรรสิทธิที่ใช้อยู่ในปัจจุบันยังไม่สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพื่อเป็นการลดความเสียหายและปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาว่ามีปัจจัยใดบ้างที่ควรนำมาพิจารณาในการกำหนดเกณฑ์การจัดสรรสิทธิ โดยการนำรูปแบบของมูลค่าความเต็มใจยอมรับ (Willingness to Accept หรือ WTA) มาประยุกต์ใช้ การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิดในการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ประกอบที่เข้าร่วมโครงการนมโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยผู้ประกอบการที่ผลิตนมพาสเจอร์ไรส์เพียงอย่างเดียวและผู้ประกอบการที่ผลิตทั้งนมพาสเจอร์ไรส์และนมยูเอชที จำนวนทั้งสิ้น 77 ราย โดยแบบสอบถามดังกล่าวจะใช้วิธีการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินมูลค่า (Contingent Valuation Method หรือ CVM) มาใช้ในการหามูลค่าความเต็มใจยอมรับของผู้ประกอบการ แล้วนำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ปัจจัยที่คาดว่ามีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดเกณฑ์การจัดสรรสิทธิ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลด้วยการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษานี้ ทำให้ได้ปัจจัยที่ควรนำมาพิจารณาประกอบในการกำหนดเกณฑ์การจัดสรรสิทธิโครงการนมโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วย สิทธิการจำหน่าย, ระยะทางในการจัดส่งนมของผู้ประกอบการ และกำลังการผลิตของผู้ประกอบการen_US
dc.description.abstractalternativeThough the school milk project is very attractive for dairy companies, the demand consumption and allocation quotas are limited. Considering this problem, the entrepreneurs with their existing capacity and new comers have directly impacted by inconsistently allocated. The objective of this research is to identify the criteria for determining quota allocation by applied the concept of willingness to accept (WTA). 77 companies were sampling from the project participation, which produced by Pasteurizing process and, both Pasteurizing and Ultra High Temperature processing (UHT) process. The simulated closed with open-end questionnaire will be analyzed by Contingent Valuation Method (CVM) to determine the value of willingness to accept. The influent factors will be determined by regression analysis as the criteria for quota allocation in the school milk project, its comprise of quota, distance and capacity of entrepreneurs.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.376-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโครงการนมโรงเรียน
dc.subjectการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค -- การจัดการ
dc.subjectSchool milk programs
dc.subjectPhysical distribution of goods -- Management
dc.titleการศึกษาแบบจำลองความเต็มใจยอมรับเกณฑ์ในการจัดสรรสิทธิโครงการนมโรงเรียนen_US
dc.title.alternativeSTUDY OF WILLINGNESS TO ACCEPT MODEL FOR CRITERIA ON QUOTA ALLOCATION IN THE SCHOOL MILK PROJECTen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorrsuthas@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.376-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470472821.pdf4.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.