Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา สรายุทธพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorจักรี อย่าเสียสัตย์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:15Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:15Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43123
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการจัดโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านไทยเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนพญาไท จำนวน 50 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ นักเรียนกลุ่มทดลองทดลอง จำนวน 25 คน ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านไทยเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว เป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 ชั่วโมง และนักเรียนกลุ่มควบคุม จำนวน 25 คนที่ไม่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านไทยเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว มีค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 0.84 และแบบวัดพฤติกรรมก้าวร้าว มีค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 0.99 มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบค่าทีที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังได้รับการจัดโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพลดลงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังได้รับการจัดโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพลดลงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านไทยสามารถลดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนประถมศึกษาได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study the effects of a health promotion program by using Thai folk game to reduce aggressive behaviors of elementary school students. The sample was 50 elementary school students in Phyathai School. Divided into 2 groups with 25 students in the experimental group received the health promotion program by using Thai folk game for 8 weeks, 3 days a week, I hour a day and 25 students in the control group not received the health promotion program. The research instruments were composed of the health promotion program by using Thai folk game to reduce aggressive behaviors had an IOC 0.84 and aggressive behaviors test had an IOC 0.99, the reliability was 0.93 The data were then analyzed by means, standard deviations and t-test by using statistically significant difference at .05 levels. The research findings were as follows: 1) The mean scores of aggressive behaviors of the experimental group students after received the health promotion program were significantly lower than before at .05 levels. 2) The mean scores of aggressive behaviors of the experimental group students after received the health promotion program were significantly lower than the control group students at .05 levels. The research finding suggests that health promotion program by using Thai folk game was effectively to reduce aggressive behaviors of elementary school students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.595-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความก้าวร้าวในเด็ก
dc.subjectการละเล่น -- ไทย
dc.subjectAggressiveness in children
dc.titleผลของการจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านไทยเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF A HEALTH PROMOTION PROGRAM BY USING THAI FOLK GAMES TO REDUCE AGGRESSIVE BEHAVIORS OF ELEMENTARY SCHOOL STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjintana.s@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.595-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583306627.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.