Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติen_US
dc.contributor.authorชนัญญา เภกะนันทน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:24:46Z
dc.date.available2015-06-24T06:24:46Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43179
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณที่ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจรูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อ และการยอมรับนวัตกรรมของผู้บริโภคสูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อ และการยอมรับนวัตกรรมของผู้บริโภคสูงอายุ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชากรผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปทั้งเพศชายและหญิงจำนวน 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยแสดงให้เห็นรูปแบบการดำเนินชีวิตของกลุ่มตัวอย่างที่แตกต่างกัน 10 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มทันสมัยไม่ล้าหลัง 2. กลุ่มมีชีวิตชีวา 3. กลุ่มห่วงใยผู้อื่นใส่ใจตัวเอง 4. กลุ่มนักกิจกรรม 5. กลุ่มจริงจังกับชีวิต 6. กลุ่มสำมะเลเทเมา 7. กลุ่มอยู่กับเหย้าเฝ้ากับเรือน 8. กลุ่มคุณหญิงย่ายายคุณชายปู่ตา 9. กลุ่มหรูหราฟู่ฟ่า และ 10. กลุ่มรักประเพณีและวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้บริโภคสูงอายุนิยมเปิดรับสื่อดั้งเดิมคือ โทรทัศน์ และสื่อหนังสือพิมพ์มากกว่าสื่ออื่นๆ แต่กลับเปิดรับสื่อใหม่ทุกชนิดในระดับต่ำ รวมทั้งยังมีการยอมรับนวัตกรรมอยู่ในระดับต่ำด้วยเช่นกัน เพราะมีเพียงแค่ 2 รูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการยอมนวัตกรรมคือ รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบมีชีวิตชีวา และรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบจริงจังกับชีวิตen_US
dc.description.abstractalternativeThis survey research aimed to: 1) explore lifestyles, media exposure and innovation adoptions, and, 2) examine the relationships of such three variables of the elderly consumers. By using questionnaires, the data were collected from 400 samples, aged 60 years old and older, living in Bangkok. The results unveiled 10 lifestyle segments. They were: 1. the modish, 2. the lively, 3. the compassionated, 4. the energetic, 5. the earnest, 6. the day seizers, 7. the stay-home, 8. the chillax grandparents, 9. the exuberant, and 10. the conventional. In addition, for traditional media, the elderly consumers were highly exposed to television and newspapers more than others. Meanwhile, the had low level of exposure to all types of new media. Similarly, the innovation adoption rate was also low. Elaborately, the lively and the earnest lifestyles were the only two segments having positive relationship with such adoption.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.652-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดำเนินชีวิต
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร
dc.subjectOlder people -- Conduct of life
dc.subjectInformation behavior
dc.titleรูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อ และการยอมรับนวัตกรรมของผู้บริโภคสูงอายุen_US
dc.title.alternativeLIFESTYLE, MEDIA EXPOSURE AND INNOVATION ADOPTION OF ELDERLY CONSUMERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsaravudh.a@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.652-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5584659328.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.