Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์en_US
dc.contributor.authorธงรบ เทียนสันติ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:37:34Z
dc.date.available2015-06-24T06:37:34Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43365
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม และเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม กับกลุ่มที่ให้การพยาบาลการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน จำนวน 40 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุม 20 คน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์จากผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน เขตบริการสุขภาพที่ 4 เครื่องมือทั้ง 4 ชุด ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวช จำนวน 5 คน ประกอบด้วย โปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวร่วมกับการให้สุขภาพจิตศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบวัดพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา แบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัว วิเคราะห์ความเที่ยงของเครื่องมือโดยหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบวัดทั้ง 2 ฉบับได้เท่ากับ 0.89, 0.74 และ แบบวัดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนของผู้ป่วยจิตเภท โดยใช้สูตร KR-21ได้เท่ากับ 0.75 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1.ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนที่ได้รับโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวร่วมกับการให้สุขภาพจิตศึกษาสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนที่ได้รับโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวร่วมกับการให้สุขภาพจิตศึกษาสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were : 1) to compare medication adherence behaviors of schizophrenic patients in the community before and after their participation in family counseling and psychoeducation program, and 2) to compare medication adherence behaviors of schizophrenic patients in the community who received routine nursing care. The Participants were 40 schizophrenic patients living in community, Public Health Service Department 4st, who met the inclusion criteria. They were randomly assigned into one experimental group with 20 subjects and control group with 20 subjects. Four instruments were tested for content validity by five experts. The instruments consisted of family counseling and psychoeducation program developed by the researcher. The reliability of Medication Adherence Scale and Family Relationship Scale were test for the Cronbach’s alpha coefficient of the scales were 0.89, 0.74 and The Knowledge of daily practice schizophrenic patients were test for the KR-21 of the scale was 0.75, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test. Major findings were as follow: 1. Medication adherence behaviors of schizophrenic patients in the community after using family counseling and psychoeducation program were significantly higher than that before using program, at p .05 level. 2. Medication adherence behaviors of schizophrenic patients in the community who received family counseling and psychoeducation program were significantly higher than those of patients who participated in regular caring activities, at the p .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.832-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภท
dc.subjectผู้ป่วยทางจิต
dc.subjectการให้คำปรึกษาครอบครัว
dc.subjectการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
dc.subjectSchizophrenics
dc.subjectMentally ill
dc.subjectFamily counseling
dc.subjectPsychiatric nursing
dc.titleผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวร่วมกับการให้สุขภาพจิตศึกษาต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF FAMILY COUNSELING AND PSYCHOEDUCATION PROGRAM ON MEDICATION ADHERANCE BEHAVIORS OF SCHIZOPHRENIC PATIENTS IN THE COMMUNITYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordpennapa@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.832-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5477166036.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.