Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิมันต์ สุนทรไชยาen_US
dc.contributor.authorปวีณา นพโสตรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:37:36Z
dc.date.available2015-06-24T06:37:36Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43369
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าวัยสูงอายุที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความหวังแบบครอบครัวมีส่วนร่วม ก่อน – หลัง และ ระยะติดตามผลภายในและระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าวัยสูงอายุ และสมาชิกครอบครัว จานวน 40 ครอบครัว แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 20 ครอบครัว กลุ่มควบคุม 20 ครอบครัว โดยคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติ จาก ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อยขึ้นไปทั้งเพศชาย และเพศหญิงที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลทั่วไป เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมเสริมสร้างความหวังแบบครอบครัวมีส่วนร่วม 2) แบบ สัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 4) แบบวัดความ เศร้าในผู้สูงอายุไทย 5) แบบสอบถามความหวังสาหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เครื่องมือทั้ง 5 ชุด ได้ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวช จานวน 5 ท่าน วิเคราะห์ความเที่ยงของเครื่องมือโดยชุดที่ 3,4 ใช้สูตรของ คูเดอร์ – ริชาร์ดสัน ได้ค่าความ เที่ยงเท่ากับ 0.89, 0.90 ตามลาดับและชุดที่ 5 หาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย สถิติการทดสอบทีสาหรับกลุ่มตัวอย่างที่เป็น อิสระต่อกัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้า และการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีของนิวแมน- คูลส์ ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่pยภาวะซึมเศร้าในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมใน สิ้นสุดการทดลองและระยะติดตามผล 2 สัปดาห์แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<.05) ใน กลุ่มทดลองพบว่า คะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า ก่อนการทดลอง( = 18.75, SD = 4.35) ระยะ สิ้นสุดการทดลอง( = 15.50, SD = 2.98) และระยะติดตาม 2 สัปดาห์( = 14.35, SD = 2.52) แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<.05) ส่วนคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าในระยะสิ้นสุดการ ทดลอง( = 15.50, SD = 2.98) และระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ ( = 14.35, SD = 2.52) ไม่ แตกต่างกัน (p>.05) สรุปผลการวิจัย คือ โปรแกรมเสริมสร้างความหวังแบบครอบครัวมีส่วนร่วมช่วยลด ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุได้ ดังนั้นบุคลากรทางสุขภาพโดยเฉพาะพยาบาลจิต เวชสามารถประยุกต์โปรแกรมเสริม
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental study was to compare depression of older persons after receiving the hope enhancement program with family participation at the preposttest and Follow up.Within and between the experimental and the control group.The sample include forty older persons, age 60 years and older, whose diagnosed as depressive disorder and their families, were recruited at the outpatient department of the community and the general hospital.The potential families, were randomly assigned to the experimental and the control group, 20 families in each group. The experimental group received 5 sessions, 60 – 90 minutes each hope enhancement program with family participation for three weeks, while the control group received nursing care as usual. The concepts of hope therapy protocol by Snyder (1994) were derived into the program and validate for content validity by five professional experts. The instrument employed in data collection included 1) Mini Mental State Examination – Thai 2002(MMSE-Thai 2002), 2) Thai Geriatric Depression Scale(TGDS) and 3) The Hope Questionnaire. The Kuder – Richardson Reliability of MMSE-Thai 2002 and TGDS were 0.89 and 0.90.The Chronbach’s Alpha coefficient reliability of the Hope questionnaire was 0.87. Data were analyze by descriptive statistics, independent t-test, repeated ANOVA, and Newman- Keuls method. The results from this study revealed that the mean scores of depression in the experimental and control groups after the experiment and two week follow-up were significantly different (<.05). In the experiment group, the mean scores of depression before the experiment ( = 18.75, SD = 4.35), after the experiment ( = 15.50, SD = 2.98), and two week follow-up ( = 14.35, SD = 2.52) were significantly different (p<.05). However, the mean scores of depression in the experiment group after the experiment and two weeks follow-up were not significantly different (p>.05). In conclusion,The hope enhancement program with family participation was effectively used to reduce depression of older persons with major depressive disorder. Thus, health care providers, particularly psychiatric nurses, could apply this program to reduce depression in other psychiatric patients.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.836-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพจิต
dc.subjectครอบครัว
dc.subjectOlder people -- Mental health
dc.subjectDomestic relations
dc.titleผลของโปรแกรมเสริมสร้างความหวังแบบครอบครัวมีส่วนร่วมต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุen_US
dc.title.alternativeTHE EFFECT OF HOPE ENHANCEMENT PROGRAM WITH FAMILY PARTICIPATION ON DEPRESSION OF OLDER PERSONS WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsrangsiman@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.836-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5477175736.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.