Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรอนงค์ วนิชจักร์วงศ์-
dc.contributor.advisorชนินทร์ เตชะประเสริฐวิทยา-
dc.contributor.authorกำแหง พัฒนอริยางกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-10T07:09:56Z-
dc.date.available2007-10-10T07:09:56Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743462872-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4362-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบต่อผิวรากฟัน ภายหลังการใช้หัวขูดหินน้ำลายอัลทราโซนิกส์ชนิดพี-10 หัวขูดชนิดเอฟเอสไอ และหัวขูดชนิดสลิมไลน์ ในฟันของผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบ กลุ่มตัวอย่างเป็นฟันรากเดียวที่ได้วางแผนการรักษาว่าจะถอนฟันทำการขูดหินน้ำลายเฉพาะด้านใกล้กลาง และด้านไกลกลางซึ่งถูกเลือกจากการสุ่มอย่างมีระบบเพื่อเลือกชนิดของหัวขูดหินน้ำลายอัลทราโซนิกส์ ทำการขูดหินน้ำลายจนกระทั่งเมื่อตรวจด้วยเครื่องมือเอกซพลอเรอร์แล้ว รู้สึกว่าผิวรากฟันเรียบ หลังจากถอนฟันแล้ว ประเมินผิวรากฟันที่ใช้ทดสอบจำนวน 60 ด้านด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด บันทึกภาพที่บริเวณส่วนกลางของผิวรากฟัน ที่ใช้ทดสอบจำนวน 1 ภาพด้วยกำลังขยาย 35 เท่า และที่บริเวณมุมทั้ง 4 ของพื้นผิว ที่ใช้ทดสอบด้วยกำลังขยาย 100 เท่า นำภาพถ่ายแต่ละภาพมาให้คะแนน 3 ครั้ง ตามดัชนี ความขรุขระ และการสูญเสียเนื้อฟัน ผลการวิจัยสรุปว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ของคะแนนตามดัชนีความขรุขระ และการสูญเสียเนื้อฟันของหัวขูดหินน้ำลายอัลทราโซนิกส์ชนิดพี-10 กับหัวขูดชนิดสลิมไลน์ และระหว่างหัวขูดชนิดเอฟเอสไอกับหัวขูดชนิดสลิมไลน์ การประเมินด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด และการวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่า หัวขูดชนิดสลิมไลน์มีผลกระทบต่อผิวรากฟันน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับหัวขูดชนิดพี-10 และหัวขูดชนิดเอฟเอสไอ นอกจากนี้ พบว่า เวลาที่ใช้ในการขูดหินน้ำลาย และความลึกของร่องลึกปริทันต์ เป็นปัจจัยซึ่งอาจจะสัมพันธ์กับผลกระทบต่อผิวรากฟันที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขูดหินน้ำลายด้วยหัวขูดชนิดพี-10 หรือหัวขูดชนิดเอฟเอสไอ ขณะที่ปัจจัยนี้มีผลน้อยเมื่อขูดหินน้ำลายด้วยหัวขูดชนิดสลิมไลน์en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the effect of scaling with three different ultrasonic tip designs [P-10TM, FSITM, and SLITM[-10R, -10L]] on root surfaces in periodontitis patients. Single rooted anterior teeth planned for extraction were selected. The mesial and distal surfaces of each tooth were assigned by systematic randomization to be instrumented by different types of the ultrasonic tips and the scaling was continued until the root surface was felt smooth as examined with explorer tip. After extraction, 60 test surfaces were examined under scanning electron microscope. Five micrographs were taken from each test surface: one low magnification [35x] at the central part and four additional high magnification [100x] at corners of the test surface. Each micrograph was graded three times by the same examiner using roughness and loss of tooth substances index. SLI was found to have a significantly different effect [p<0.05] when compared with either that of P-10 or FSI, While no significant differencewas apparent between P-10 and FSI. The results indicated that SLI may have less harmful effect on root surfaces than the other two tips. In addition, the statistical analysis revealed that instrumentation time and pocket depth may have considerable effect on root surface roughness when scaling was done with P-10 or FSI, whereas they may play minor role with SLI.en
dc.format.extent24267472 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.384-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรคปริทันต์อักเสบen
dc.subjectการขูดหินน้ำลายen
dc.subjectเกลารากฟันen
dc.subjectหัวขูดหินนน้ำลายen
dc.titleผลของการใช้หัวขูดหินน้ำลายอัลทราโซนิกส์ที่ออกแบบต่างกันสามชนิดต่อพื้นผิวรากฟันen
dc.title.alternativeThe effect of three different ultrasonic tip designs on root surfacesen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineปริทันตศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.384-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kumhaeng.pdf7.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.