Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันเฉลิม โปราen_US
dc.contributor.authorแชมป์ ประภาสวัสดิ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:43:51Z
dc.date.available2015-06-24T06:43:51Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43678
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractแชมป์ ประภาสวัสดิ์ การพัฒนาระบบการอ่านมิเตอร์โดยอัตโนมัติตามมาตรฐาน Smart Energy Profile ZigBee/IEEE 802.15.4 อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก: ผศ. ดร. วันเฉลิม โปรา, 85 หน้า. วิทยานิพนธ์นี้ได้นำเสนอการพัฒนาระบบอ่านมิเตอร์แบบอัตโนมัติ ซึ่งส่วนแรกทำการพัฒนาส่วนที่เป็นอุปกรณ์การวัด โดยพัฒนาอุปกรณ์การวัดให้เป็นไปตามมาตราฐาน IEC โดยส่วนการวัดใช้เพ็คเกจไอซี STPMS2 และ STPMC1 ในการทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิตอลและคำนวณพลังงานทางไฟฟ้าตามลำดับ ส่วนที่สองเกี่ยวข้องกับการพัฒนา โมดูลสื่อสารประเภท ZigBee ตามรูปแบบพลังงานอัจฉริยะ ทำให้จัดการข้อมูลปริมาณทางไฟฟ้า และ การสื่อสารระหว่างฐานบริการพลังงานกับมิเตอร์พลังงานอัจฉริยะมีประสิทธิภาพ ซึ่งรูปแบบพลังงานอัจฉริยะ ประกอบด้วยส่วนที่เป็น คลัสเตอร์ ประเภทต่างๆ ซึ่งแต่ล่ะ คลัสเตอร์ ประกอบไปด้วย แอตทริบิวต์ที่เหมาะกับ คลัสเตอร์ นั้นๆ เช่น คลัสเตอร์การวัดแบบพื้นฐานประกอบด้วยชุดแอททริบิวต์ได้แก่ ชุดอ่านข้อมูล, ชุดข้อมูลการใช้พลังงาน ทีโอยู และสถานะมิเตอร์ ซึ่งในวิทยานิพน์นี้จะเลือกใช้เฉพาะ คลัสเตอร์ที่มีความเหมาะสมจำนวนหนึ่ง ด้านการสื่อสารระหว่างฐานบริการพลังงาน และฝั่งมิเตอร์พลังงานอัจฉริยะ ใช้โทโปโลยีใน 2 รูปแบบ คือ แบบสตาร์ และแบบต้นไม้ โดยใช้คำสั่งที่เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมทั่วโลกซึ่งถูกกำหนดโดยพันธมิตร ZigBeeen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents the development of an automatic meter reading system. The first part of the thesis concerns development of measuring devices according to the IEC standard. The measuring devices are equipped with key packaged ICs, STPMS2 and STPMC1, to convert analog data to digital one and to calculate electrical energy, respectively. The second part involves the development of ZigBee communication module conformed to the Smart Energy Profile which provides an efficient energy-data management and communication between Energy Service Portal (ESP) and Smart Energy Meter (SEM). The Smart Energy Profile consists of multiple data groups called Clusters, with each Cluster consisting of appropriate attributes. For instance, Simple Metering Cluster consists of attribute sets, namely Reading Information Set, TOU Information Set, Meter Status and etc. However, this thesis focuses only on a relevant group of clusters defined in the Energy Profile. Communication setups between ESP and SEM are based on Start and Tree topologies, using standard commands which have been globally accepted and defined by Zigbee Alliance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1164-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลังงานไฟฟ้า
dc.subjectไฟฟ้ากระแส
dc.subjectการใช้พลังงานไฟฟ้า
dc.subjectElectric power
dc.subjectElectric power consumption
dc.titleการพัฒนาระบบการอ่านมิเตอร์โดยอัตโนมัติตามมาตรฐาน ZigBee Smart Energy Profileen_US
dc.title.alternativeDEVELOPEMENT OF AN AUTOMATIC METER READING SYSTEM BASED ON ZIGBEE SMART ENERGY PROFILEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwanchp@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1164-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5370636321.pdf6.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.