Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรศิริ หมื่นไชยศรีen_US
dc.contributor.authorพเยาว์ บุญอ่อนen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:43:52Z
dc.date.available2015-06-24T06:43:52Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43682
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์พลวัตมีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการทำงานของระบบซอฟต์แวร์ปรับตัวเอง ที่มีการเปลี่ยนแปลงความต้องการและเพิ่มขึ้นของข้อจำกัดของทรัพยากรระบบขณะทำงาน การปรับตัวอาจจะทำให้สำเร็จด้วยการปรับโครงแบบพฤติกรรมการปรับของจุดเปลี่ยนแปลงในแบบจำลองคุณลักษณะที่บอกลักษณะของความหลากหลายในระบบซอฟต์แวร์ การตัดสินใจของการจัดการความหลากหลายเชิงพลวัตสำหรับจุดเปลี่ยนแปลงของแบบจำลองคุณลักษณะเป็นความท้าทายในสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์พลวัต ในงานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการจัดกลุ่มแบบจำลองคุณลักษณะของจุดเปลี่ยนแปลงตามพฤติกรรมการปรับที่แทนด้วยบริบทของการปรับตัวและข้อจำกัดของคุณลักษณะ โดยวิธีการนี้ใช้ขั้นตอนวิธีการจัดกลุ่มคลุมเครือและการประมาณค่าใกล้เคียงเฉพาะที่สำหรับสมาชิก หรือ FLAME เพื่อการปรับโครงแบบระบบซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งนำเสนอเครื่องมือสร้างแบบจำลองคุณลักษณะ Feature-Dc ที่รองรับการกำหนดบริบทให้กับจุดปรับโดยสามารถนำออกเอกสารเอ็กซ์เอ็มแอล และกรอบการทำงาน MAPE-Kc เพื่อใช้สำหรับการปฏิบัติงานปรับตัวในกรณีศึกษาเพื่อลดเวลาในการปรับตัวของกระบวนการการตัดสินใจในสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์พลวัตด้วยวิธีการนี้เทียบกับการไม่จัดกลุ่มแบบจำลองคุณลักษณะประมาณ 45%en_US
dc.description.abstractalternativeDynamic Software Product Line (DSPL) is intent to support adaptive software system to meet requirement changes and evolving resource constraints during runtime. The adaptation may be accomplished by reconfiguring adaptive behavior at adaptive point in feature model that describes variability of system. The decision making of dynamic variability management for variation point of feature model is challenges in DSPL. This research proposes an approach to clustering feature model on variation point based on adaptive behavior represented with adaptive context and feature constraint. An approach for similarity uses Fuzzy clustering and Local Approximation of Membership (FLAME) algorithm to reconfigure software system. The tools for design feature model Feature-Dc supported define context for variation point then export to XML document and the MAPE-Kc framework is used for adaptive task operation in case study in order to reducing adaptation time of decision making process in DSPL this approach and non-clustering feature model about 45%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1135-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา
dc.subjectการจำลองระบบ
dc.subjectComputer software -- Development
dc.subjectSimulation methods
dc.titleวิธีการจัดกลุ่มแบบจำลองคุณลักษณะตามพฤติกรรมการปรับสำหรับสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์พลวัตen_US
dc.title.alternativeAN APPROACH TO CLUSTERING FEATURE MODEL BASED ON ADAPTIVE BEHAVIOR FOR DYNAMIC SOFTWARE PRODUCT LINEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPornsiri.Mu@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1135-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5371432821.pdf5.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.