Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมล ทับจุมพลen_US
dc.contributor.authorสุรชัย ฝั้นแก้วen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:44:45Z
dc.date.available2015-06-24T06:44:45Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43777
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 ประการดังนี้คืิอ 1.ศึกษาเปรียบเทียบการจัดการน้ำท่วมในปี พ.ศ.2554 ของผู้ว่าราชการจังหวัดที่มาจากการเลือกตั้ง และแต่งตั้ง ตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมือง ในกรณีศึกษา ชุมชนสวนผัก ใน จ.กรุงเทพฯ และชุมชนคลองโยง ใน จ.นครปฐม 2.ศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ และความคาดหวังของประชาชนในพื้นที่ๆ ได้รับการจัดการนำ้ท่วม ในปี พ.ศ.2554 ทั้งในช่วงก่อนภาวะนี้ำท่วม ระหว่างน้ำท่วม และหลังจากภาวะนำ้ท่วมผ่านพ้นไปแล้ว จากการศึกษาวิจัย พบว่า ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากภาวะน้ำท่วมนั้น เป็นการบังคับให้จนในทางเศรษฐกิจ ในมุมมองตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมือง ซึ่งส่วนหนึ่งนั้นเป็นผลมาจาก ประสิทธิภาพ และ ความสามารถ ในการทำงานทำงานแก้ไขปัญหาน้ำท่วมที่แตกต่างกันของผู้ว่าราชการจังหวัดทั้งแต่ละแบบ ซึ่งเป็นผลมาจากโครงสร้างทางกฎหมาย ทีให้อำนาจที่แตกต่างกัน ซึ่งผลจากอำนาจที่แตกต่างกันดังกล่าว ได้ทำให้ ประสิทธิภาพ และความสามารถในการทำงานของ ผู้ว่าฯ ที่มาจากการเลือกตั้งนั้น สามารถทำงานแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งในช่วงก่อน ระหว่าง และหลัังจากภาวะน้ำท่วมได้ผ่านพ้นไปแล้ว ซึ่งหมายรวมถึงการปัองกันปัญหาในอนาคต ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นแล้ว การมีงบประมาณเป็นของตนเองก็เป็นปัจจัยที่ช่วยเสริม ในการทำงานดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งตรงกันข้ามกับ ผู้ว่าฯ ที่มาจากการแต่งตั้ง ที่ ประสิทธิภาพ และ ความสามารถ ในการทำงานแก้ไขปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นนั้น มีปัญหาทั้งในช่วงก่อน ระหว่าง และหลัังจากภาวะน้ำท่วมได้ผ่านพ้นไปแล้ว ซึ่งหมายรวมถึงการปัองกันปัญหาในอนาคตที่จะเกิดขึ้่น นอกจากนั้นแล้ว ยังมีปัญหาอุปสรรคในด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอ ในการทำโครงการในระยะยาวประกอบด้วย อย่างไรก็ดีปัญหาในด้านงบประมาณดังกล่าวนี้ สามารถแก้ได้ด้วยการเขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลางได้อีกทางหนึ่ง แต่อย่างไรก็ดีก็พบว่าการเขียนโครงการดังกล่าวนั้น ถูกใช้ไปกับโครงการที่ตอบสนองต่ออายุราชของ ผู้ว่าฯ ที่เหลือที่จะต้องประจำอยู่ในพื้นที่เป็นหลัก จากสิ่งที่เกิดขึ้นจึงทำให้ความจน ถูกทำให้กลายเป็นมรดก ในพื้นที่ๆ เกิดความเสียหายซ้ำซาก จากการที่ไม่ได้รับการวางแผนพัฒนา ป้องกันอย่างต่อเนื่องในระยะยาวen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis has two major objectives. First, it is to comparative study between elected and appointed governor in managing the flood in 2011. It is conducted from a view point of political economy by applying case studies of Sunpak Community in Bangkok province and Klong Yong Community in Nakornpathom province. Second, it is to study the effect of the flood in term of its economy and the expectation of people in communities since the beginning to the end of the flood. The study found that the flood leads people to poverty. One of the reasons is because the law structure in Thailand, which give unequal powers to the governors. The power is given to the elected governor more than the appointed governor in term of efficiency and ability of flood management. This includes the solving at the time and after the flood, and the planning project to prevent the flood to occur again. Nonetheless, there is a problem that the governors do not have sufficient budgets for the long term project. In fact, the budgets can be requested from the center government. However,but almost the projects are used to propose in short term project because they mainly consider concerned in their ages of government service in this area only. Finally, the poverty is caused by the flood because it does not have the proper planning and preventing.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1246-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์การเมือง
dc.subjectการบริหารองค์การ
dc.subjectPolitical economics
dc.subjectAssociations, institutions, etc. -- Management
dc.titleเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการจัดการน้ำท่วม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบชุมชนตลิ่งชัน กรุงเทพและชุมชนคลองโยง นครปฐมในเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ปีพ.ศ. 2554en_US
dc.title.alternativeThe Political Economy of Flood Management: A Comparative Case Study of Suanpak Community in Bangkok and Klongyong Community in Nakhon Pathom during 2011 Flood in Thailand.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjunaruemon@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1246-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5385352629.pdf9.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.